มาตรฐานโมเด็ม
สำหรับมาตรฐานของโมเด็มนั้น จะถูกกำหนดมาโดย International Telecommunication Union หรือที่รู้จักกันดี ITU ซึ่งหน่วยนี้จะเป็น หน่วยงานที่องค์การสหประชาชาติตั้งขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถใหม่ให้กับโมเด็ม สำหรับมาตรฐานใหม่และในปัจจุบันก็เป็นที่นิยมกันอย่างมากก็คือมาตรฐาน V.90 ที่มีความรวดเร็วในการเชื่อมต่อที่ 56Kbps แต่หลังจากนั้นก็ได้มีการกำหนดมาตรฐานใหม่ล่าสุดเป็น V.92เพื่อเพิ่มความสามารถของโมเด็มให้ดีมากยิ่ง ขึ้น โดยความสามารถใหม่นั้นจะมีอยู่ 3 อย่างด้วยกันนั้นคือ Quick Connect, Modem on Hold และ PCM Upstream
Quick Connect
มีรูปแบบเพื่อให้สามารถทำการเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ISP ได้รวดเร็วขึ้นกว่าเดิม 50 เปอร์เซ็นต์
PCM Upstream
ช่วยให้การอัพโหลดข้อมูลต่างๆ ทำได้รวดเร็วมากขึ้น ซึ่งจะสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 48,000bps โดยที่มาตรฐาน V.90 เดิมทำได้เพียงแค่ 33,600bps
Modem on Hold
ท่านเคยสังเกตไหมครับว่าเวลาใช้งานอินเทอร์เน็ต แล้วถ้ามีสายโทรศัพท์เรียกเข้าในระหว่างใช้อินเทอร์เน็ต สายมักจะชอบ หลุด แต่ด้วยเทคโนโลยีนี้จะทำให้ท่านสามารถรับโทรศัพท ์เมื่อมีสายเรียก เข้า โดยที่ไม่ต้องออกจากการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ท่านจะต้องขอใช้บริการรับ สายเรียกซ้อนจากผู้ให้บริการโทรศัพท์ที่ท่านใช้ และทาง ISP จะต้องเปิดให้บริการมาตรฐาน V.92 ด้วย
สำหรับมาตรฐานของโมเด็มนั้น จะถูกกำหนดมาโดย International Telecommunication Union หรือที่รู้จักกันดี ITU ซึ่งหน่วยนี้จะเป็น หน่วยงานที่องค์การสหประชาชาติตั้งขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถใหม่ให้กับโมเด็ม สำหรับมาตรฐานใหม่และในปัจจุบันก็เป็นที่นิยมกันอย่างมากก็คือมาตรฐาน V.90 ที่มีความรวดเร็วในการเชื่อมต่อที่ 56Kbps แต่หลังจากนั้นก็ได้มีการกำหนดมาตรฐานใหม่ล่าสุดเป็น V.92เพื่อเพิ่มความสามารถของโมเด็มให้ดีมากยิ่ง ขึ้น โดยความสามารถใหม่นั้นจะมีอยู่ 3 อย่างด้วยกันนั้นคือ Quick Connect, Modem on Hold และ PCM Upstream
Quick Connect
มีรูปแบบเพื่อให้สามารถทำการเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ISP ได้รวดเร็วขึ้นกว่าเดิม 50 เปอร์เซ็นต์
PCM Upstream
ช่วยให้การอัพโหลดข้อมูลต่างๆ ทำได้รวดเร็วมากขึ้น ซึ่งจะสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 48,000bps โดยที่มาตรฐาน V.90 เดิมทำได้เพียงแค่ 33,600bps
Modem on Hold
ท่านเคยสังเกตไหมครับว่าเวลาใช้งานอินเทอร์เน็ต แล้วถ้ามีสายโทรศัพท์เรียกเข้าในระหว่างใช้อินเทอร์เน็ต สายมักจะชอบ หลุด แต่ด้วยเทคโนโลยีนี้จะทำให้ท่านสามารถรับโทรศัพท ์เมื่อมีสายเรียก เข้า โดยที่ไม่ต้องออกจากการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ท่านจะต้องขอใช้บริการรับ สายเรียกซ้อนจากผู้ให้บริการโทรศัพท์ที่ท่านใช้ และทาง ISP จะต้องเปิดให้บริการมาตรฐาน V.92 ด้วย
นอกจากโมเด็มในแบบอนาล็อกที่มีการส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็ว 56K ที่ปัจจุบันเป็นที่นิยมกันมากสำหรับคออินเทอร์เน็ตราคาถูก (ผมด้วย อิ..อิ) ปัจจุบันก็สามารถพัฒนาให้สามารถส่งผ่านข้อมูลในแบบดิจิตอลโดยตรง เพื่อให้การส่งผ่านข้อมูลไม่ว่าจะเป็นการดาวน์โหลดข้อมูล (downstream) หรืออัพ โหลดข้อมูล (upstream) ทำได้รวดเร็วมากขึ้นกว่าเดิม พร้อมกับรองรับการประชุมทางไกลทั้งภาพ และเสียง( VDO Conference) ที่กำลังนิยมใช้งานกัน ตามบริษัทด้วย สำหรับโมเด็มที่ออกมารองรับการใช้งานดังกล่าวนั้นก็จะมีออกมาใช้อยู่ 3 แบบ ได้แก่ Cable Modem, ISDN Modem และที่กำลังร้อนแรง ในขณะนี้ ADSL Modem
Cable Modem |
Cable Modem
จะใช้การส่งสัญญาณข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายต่างๆ โดยใช้สายนำสัญญาณ เช่น สายเคเบิลใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic ) และสายโคแอคเชียล มาทำงานร่วมกันโดยจะเรียกระบบนี้ว่า HFC หรือ Hybrid Fiber Coaxial Network ความสามารถของเคเบิลโมเด็มก็จะมีตั้งแต่ สามารถดาวน์โหลด ข้อมูลได้สูงสุดถึง 10Mbps และอัพโหลดข้อมูลได้สูงสุดถึง 2Mbps และไม่มีปัญหาของสายหลุดในระหว่างการใช้งานเพราะ Cable Modem จะเป็นการ เชื่อมต่ออยู่ตลอดเวลา แต่ค่อนข้างจะมีพื้นที่ให้บริการที่จำกัดไม่ค่อยจะทั่วถึงถ้าเกิดมีจำนวนผู้ใช้มากขึ้นก็จะทำให้ความเร็วลดลง และไม่มีค่อยความปลอดภัย ของข้อมูลในระหว่างการใช้งานด้วย
จะใช้การส่งสัญญาณข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายต่างๆ โดยใช้สายนำสัญญาณ เช่น สายเคเบิลใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic ) และสายโคแอคเชียล มาทำงานร่วมกันโดยจะเรียกระบบนี้ว่า HFC หรือ Hybrid Fiber Coaxial Network ความสามารถของเคเบิลโมเด็มก็จะมีตั้งแต่ สามารถดาวน์โหลด ข้อมูลได้สูงสุดถึง 10Mbps และอัพโหลดข้อมูลได้สูงสุดถึง 2Mbps และไม่มีปัญหาของสายหลุดในระหว่างการใช้งานเพราะ Cable Modem จะเป็นการ เชื่อมต่ออยู่ตลอดเวลา แต่ค่อนข้างจะมีพื้นที่ให้บริการที่จำกัดไม่ค่อยจะทั่วถึงถ้าเกิดมีจำนวนผู้ใช้มากขึ้นก็จะทำให้ความเร็วลดลง และไม่มีค่อยความปลอดภัย ของข้อมูลในระหว่างการใช้งานด้วย
ISDN Modem |
ISDN Modem
หรือ Integrated Services Digital Network ได้รับการพัฒนาเพื่อมารองรับการส่งผ่านข้อมูลประเภทภาพ และเสียงผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น การประชุมทางไกล, video streaming, Video Conference สามารถสนับสนุนความเร็วได้ตั้งแต่ 57.6Kbps - 128Kbps ซึ่งรูปแบบที่ให้บริการ สำหรับ ISDN นั้นจะมีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ
ประเภทแรก Basic Access Interface หรือ BRI การเชื่อมต่อแบบนี้จะเหมาะกับผู้ใช้ในทุกๆ ระดับ ตั้งแต่ผู้ใช้ตามบ้านจนไปถึงองค์กรธุรกิจ ขนาดใหญ่ โดยสายสัญญาณที่นำมาใช้ก็จะเป็นสาย โทรศัพท์ธรรมดา ซึ่งจะเป็นการแลกเปลี่ยนกันระหว่างชุมสายของผู้ใช้บริการ และผู้ใช้ ISDN และ ISDN จะใช้ช่องสัญญาณทั้งหมด 2 ช่องโดยแต่ละช่องจะสามารถส่งผ่านข้อมูลได้สูงสุดที่ 64Kbps ฉะนั้นจึงรวมเป็น 128Kbps
ประเภทที่สอง Primary Rate Interface หรือ PRI ส่วนแบบนี้จะเหมาะกับองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ที่ต้องการช่องสัญญาณขนาดใหญ่เพื่อรอง รับกับข้อมูลจำนวนมาก ๆ ส่วนสายสัญญาณที่ใช้นั้นจะมีอยู่ 2 แบบ โดยแบบแรกนั้นจะใช้สาย Fiber Optic ซึ่งผู้ให้บริการมักจะติดตั้งสายประเภทนี้ไว้ตาม สถานที่สำคัญทางธุรกิจ เพราะความสามารถจากสาย Fiber Optic ที่สามารถรักษาความปลอดภัยในระหว่างการส่งผ่านข้อมูลได้มากกว่า สำหรับสายแบบ ที่สองนั้น ก็จะใช้กับพื้นที่บริการที่ไม่สามารถวางสาย Fiber Optic ได้ โดยจะใช้เป็นสายโทรศัพท์ หรือสายทองแดงแทน แต่จะติดตั้งอุปกรณ์ HDSL ISDN รูปแบบนี้จะมีจำนวนของช่องสัญญาณถึง 30 ช่อง โดยในแต่ละช่องก็จะมีขนาดความกว้างของช่องสัญญาณเหมือนกับประเภท BRI คือ 64Kbps ฉะนั้นเมื่อ รวมทั้งหมดก็จะได้ขนาดของช่องสัญญาณที่ส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดถึง 2.048Mbps หรือประมาณ 2Mbps
หรือ Integrated Services Digital Network ได้รับการพัฒนาเพื่อมารองรับการส่งผ่านข้อมูลประเภทภาพ และเสียงผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น การประชุมทางไกล, video streaming, Video Conference สามารถสนับสนุนความเร็วได้ตั้งแต่ 57.6Kbps - 128Kbps ซึ่งรูปแบบที่ให้บริการ สำหรับ ISDN นั้นจะมีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ
ประเภทแรก Basic Access Interface หรือ BRI การเชื่อมต่อแบบนี้จะเหมาะกับผู้ใช้ในทุกๆ ระดับ ตั้งแต่ผู้ใช้ตามบ้านจนไปถึงองค์กรธุรกิจ ขนาดใหญ่ โดยสายสัญญาณที่นำมาใช้ก็จะเป็นสาย โทรศัพท์ธรรมดา ซึ่งจะเป็นการแลกเปลี่ยนกันระหว่างชุมสายของผู้ใช้บริการ และผู้ใช้ ISDN และ ISDN จะใช้ช่องสัญญาณทั้งหมด 2 ช่องโดยแต่ละช่องจะสามารถส่งผ่านข้อมูลได้สูงสุดที่ 64Kbps ฉะนั้นจึงรวมเป็น 128Kbps
ประเภทที่สอง Primary Rate Interface หรือ PRI ส่วนแบบนี้จะเหมาะกับองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ที่ต้องการช่องสัญญาณขนาดใหญ่เพื่อรอง รับกับข้อมูลจำนวนมาก ๆ ส่วนสายสัญญาณที่ใช้นั้นจะมีอยู่ 2 แบบ โดยแบบแรกนั้นจะใช้สาย Fiber Optic ซึ่งผู้ให้บริการมักจะติดตั้งสายประเภทนี้ไว้ตาม สถานที่สำคัญทางธุรกิจ เพราะความสามารถจากสาย Fiber Optic ที่สามารถรักษาความปลอดภัยในระหว่างการส่งผ่านข้อมูลได้มากกว่า สำหรับสายแบบ ที่สองนั้น ก็จะใช้กับพื้นที่บริการที่ไม่สามารถวางสาย Fiber Optic ได้ โดยจะใช้เป็นสายโทรศัพท์ หรือสายทองแดงแทน แต่จะติดตั้งอุปกรณ์ HDSL ISDN รูปแบบนี้จะมีจำนวนของช่องสัญญาณถึง 30 ช่อง โดยในแต่ละช่องก็จะมีขนาดความกว้างของช่องสัญญาณเหมือนกับประเภท BRI คือ 64Kbps ฉะนั้นเมื่อ รวมทั้งหมดก็จะได้ขนาดของช่องสัญญาณที่ส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดถึง 2.048Mbps หรือประมาณ 2Mbps
ADSL Modem | Wireless ADSL Modem |
ADSL Modem
หรือ Asymmetric Digital Subscriber Line การเชื่อมต่อในแบบ ADSL นับเป็นนวัตกรรมการส่งข้อมูลสายโทรศัพท์พื้นฐานเป็นที่นิยมมาก ที่สุด โดยจะมีอัตราในการส่งข้อมูล ดาวน์โหลด สูงสุดที่ 8Mbps และอัพโหลดข้อมูลที่ 1Mbps เทคโนโลยีนี้ยังมีความสามารถในการแบ่ง รหัสสัญญาณข้อ มูลเสียงโดยการแยกความถี่ของเสียงที่มีความถี่ไม่เกิน 4KHz ออกจากความถี่ของสัญญาณข้อมูลที่มีความถี่ตั้งแต่ 2MHz โดยอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ ในการแบ่ง ความถี่นี้จำเป็นที่จะต้องนำมาติดตั้งร่วมกับ ADSL โมเด็ม อุปกรณ์ที่ว่านี้เรียกว่า Pots Splitter ซึ่งจะติดตั้งอยู่ทั้งชุมสายโทรศัพท์และผู้ใช้ ดังนั้นผู้ใช้จึง สามารถใช้โทรศัพท ์ร่วมกันได ้ใน ระหว่างที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต Pots Splitter จะมีลักษณะคล้ายกับเต้าเสียบโทรศัพท์ตามบ้านทั่วๆไปที่จะมีพอร์ต คอนเน็ก เตอร์หัว RJ-11อยู่ 2 ช่อง โดยจะมีช่องหนึ่งไว้ให้สำหรับเสียบเข้ากับโมเด็ม และช่องที่เหลืออีกช่องเอา ไว้ให้สำหรับเสียบเข้ากับเครื่องโทรศัพท์
อะไรที่ทำให้คออินเทอร์เน็ตทั้งหลายในปัจจุบันจึงนิยมติดตั้งใช้งานอินเทอร์เน็ตในแบบ ADSL อย่างแรกก็คือความสะดวกสบายในการเชื่อมต่อ ผู้ใช้สามารถที่ Access ใช้งานทันท ีโดยที่ไม่ต้องหมุนโทรศัพท์เหมือนโมเด็ม ISDN เพราะ ADSLจะทำการเชื่อมต่ออยู่ตลอดเวลา (Always-On-Access) สายสัญญาณ ADSL ยังเป็นอิสระในการใช้งานโดยที่ไม่ได้ไปแชร์สายสัญญาณเหมือน Cable Modem นั้นผู้ใช้จึงมั่นใจในเรื่องความปลอดภัย ได้
อินเทอร์เฟซต่างๆด้านหลัง ADSL Modem |
Port Splitter อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับแยกสัญญาณความถี่ |
ประเภท และแนวทางในการเลือกซื้อ ADSL โมเด็ม
สำหรับ ADSL โมเด็มจะมีให้เลือกใช้อยู่ 2 ประเภทเหมือนกับโมเด็มในแบบอนาล็อก คือ แบบที่ติดตั้งใช้งานภายใน และแบบที่ติดตั้งใช้งานภายนอก
สำหรับ ADSL โมเด็มจะมีให้เลือกใช้อยู่ 2 ประเภทเหมือนกับโมเด็มในแบบอนาล็อก คือ แบบที่ติดตั้งใช้งานภายใน และแบบที่ติดตั้งใช้งานภายนอก
การเลือกใช้งานโมเด็ม
1. การเลือกซื้อ Modem จะต้องดูว่าใช้กับเครื่องคอมฯ รุ่นไหน Notebook หรือ Desktop
2. ตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนว่ามี COM port ว่างหรือไม่
3. ความเร็ว - มีหน่วยเป็น Kbps กิโลบิตต่อวินาที ปัจจุบันเราควรเลือกที่ความเร็ว 56Kpbs
4. การอัปเกรด - ตรวจสอบดูด้วยว่า ในอนาคตสามารถอัปเกรดความสามารถใหม่ ๆ ได้หรือไม่ เช่น ความเร็ว เป็นต้น
5. โปรแกรมที่แถมว่า - นอกจาก driver ที่จำเป็นต้องมีแล้ว ควรสอบถามโปรแกรมการใช้งานอื่น ๆ ด้วย เช่น โปรแกรมส่งแฟ็กซ์ เป็นต้น
6. คุณสมบัติด้านเสียง - โมเด็มบางรุ่นมีคุณสมบัติด้านเสียงเพิ่มเติมเข้ามา ซึ่งอาจทำให้เราสามารถนำไปใช้ในระบบ Answering Machine
7. รองรับการทำงานวินโดวส์เวอร์ชั่น 95 , 98 , 2000 , และ XP
8. ถ้ามีความชำนาญเลือกแบบ Internal แต่ถ้ามือใหม่เลือกแบบ External
9. เลือกยี่ห้อที่ดี มีตัวแทนจำหน่ายในประเทศรับประกันยาว 3 - 5 ปียิ่งดี เช่น Diamond Supra , Aztech , US robotic , Jaton , Intel , GVC
10. เลือกพอร์ตแบบ parallel Port
2. ตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนว่ามี COM port ว่างหรือไม่
3. ความเร็ว - มีหน่วยเป็น Kbps กิโลบิตต่อวินาที ปัจจุบันเราควรเลือกที่ความเร็ว 56Kpbs
4. การอัปเกรด - ตรวจสอบดูด้วยว่า ในอนาคตสามารถอัปเกรดความสามารถใหม่ ๆ ได้หรือไม่ เช่น ความเร็ว เป็นต้น
5. โปรแกรมที่แถมว่า - นอกจาก driver ที่จำเป็นต้องมีแล้ว ควรสอบถามโปรแกรมการใช้งานอื่น ๆ ด้วย เช่น โปรแกรมส่งแฟ็กซ์ เป็นต้น
6. คุณสมบัติด้านเสียง - โมเด็มบางรุ่นมีคุณสมบัติด้านเสียงเพิ่มเติมเข้ามา ซึ่งอาจทำให้เราสามารถนำไปใช้ในระบบ Answering Machine
7. รองรับการทำงานวินโดวส์เวอร์ชั่น 95 , 98 , 2000 , และ XP
8. ถ้ามีความชำนาญเลือกแบบ Internal แต่ถ้ามือใหม่เลือกแบบ External
9. เลือกยี่ห้อที่ดี มีตัวแทนจำหน่ายในประเทศรับประกันยาว 3 - 5 ปียิ่งดี เช่น Diamond Supra , Aztech , US robotic , Jaton , Intel , GVC
10. เลือกพอร์ตแบบ parallel Port
การติดตั้ง โมเด็ม
ขั้นตอนการเตรียมและติดตั้งอุปกรณ์ อุปกรณ์ที่จำเป็นประกอบด้วย
1. โมเด็ม และอุปกรณ์อื่นๆ ที่จำเป็น เช่น สายสัญญาณ , ตัวแปลงไฟ , ไดรว์เวอร์
2. โทรศัพท์สายตรง 1 หมายเลขต่อสายโมเด็มเข้าด้านหลังเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยต่อเข้ากับพอร์ต com1, com2 หรือ LPT1 อย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อสายโทรเข้ากับโมเด็มตรงช่อง Line ในกรณีที่ท่านต้องการรับโทรศัพท์สายนอกที่โทรเข้ามาให้ท่านต่อ สายโทรศัพท์อีกเส้นจากตัวโทรศัพท์ไปที่โมเด็มตรงช่อง Phone (หมายเหตุ ถ้าท่านกำลังใช้อินเตอร์เน็ตอยู่แล้วมีคนโทรเข้ามา จะมีผลให้การติดต่ออินเตอร์เน็ตหลุดทันที) เสร็จแล้วให้ต่อตัวแปลงไฟ (adapter) และเสียบปลั๊กพร้อมเปิดสวิชต์โมเดมให้เรียบร้อย เมื่อต่ออุปกรณ์ต่างๆ เสร็จแล้วให้เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการติดตั้ง Driver (Software Modem) มีดังนี้
- เรียกหน้าต่าง Control Panel ขึ้นมาโดยคลิกปุ่ม Start > Settings > แล้วเลื่อนเมาส์มาที่ Control Panel คลิกเมาส์หนึ่งครั้ง สำหรับผู้ที่ใช้ Windows 95 หรือ 98 ก็ทำลักษณะเดียวกัน ดังรูป
2. โทรศัพท์สายตรง 1 หมายเลขต่อสายโมเด็มเข้าด้านหลังเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยต่อเข้ากับพอร์ต com1, com2 หรือ LPT1 อย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อสายโทรเข้ากับโมเด็มตรงช่อง Line ในกรณีที่ท่านต้องการรับโทรศัพท์สายนอกที่โทรเข้ามาให้ท่านต่อ สายโทรศัพท์อีกเส้นจากตัวโทรศัพท์ไปที่โมเด็มตรงช่อง Phone (หมายเหตุ ถ้าท่านกำลังใช้อินเตอร์เน็ตอยู่แล้วมีคนโทรเข้ามา จะมีผลให้การติดต่ออินเตอร์เน็ตหลุดทันที) เสร็จแล้วให้ต่อตัวแปลงไฟ (adapter) และเสียบปลั๊กพร้อมเปิดสวิชต์โมเดมให้เรียบร้อย เมื่อต่ออุปกรณ์ต่างๆ เสร็จแล้วให้เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการติดตั้ง Driver (Software Modem) มีดังนี้
- เรียกหน้าต่าง Control Panel ขึ้นมาโดยคลิกปุ่ม Start > Settings > แล้วเลื่อนเมาส์มาที่ Control Panel คลิกเมาส์หนึ่งครั้ง สำหรับผู้ที่ใช้ Windows 95 หรือ 98 ก็ทำลักษณะเดียวกัน ดังรูป
- หลังจากเข้ามาในหน้าต่าง Control Panel แล้วดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Add New Hardware สำหรับผู้ที่ใช้วินโดวส์ 95 หรือ 98 ถึงแม้หน้าต่างของ Control Panel จะแตกต่างออกไปแต่ยังใช้ไอคอนเดียวกัน ดังรูป
- หลังจากนั้นจะขึ้นหน้าต่างในการเตรียมพร้อมเพื่อติดตั้งให้คลิกเมาส์ปุ่ม Next > ดังรูป 1.3
เสร็จแล้ววินโดวส์จะขึ้นหน้าต่างใหม่ขึ้นมาเพื่อแจ้งว่าวินโดว์จะค้นหาฮาร์ดแวร์ที่มีอยู่แล้วบนเครื่องของท่านให้คลิกปุ่ม Next > ดังรูป
- ถ้าวินโดว์เจอฮาร์ดแวร์ที่อยู่บนเครื่องของท่านและยังไม่ได้ติดตั้งไดรว์เวอร์ วินโดว์จะขึ้นหน้า
จอถามว่าท่านต้องการติดตั้งฮาร์ดแวร์ที่วินโดว์เจอหรือไม่ ซึ่งจะมีช้อยให้เลือกว่า จะตอบ No หรือ Yes ให้ท่านตอบ No แล้วคลิกปุ่ม Next > ดังรูป
จอถามว่าท่านต้องการติดตั้งฮาร์ดแวร์ที่วินโดว์เจอหรือไม่ ซึ่งจะมีช้อยให้เลือกว่า จะตอบ No หรือ Yes ให้ท่านตอบ No แล้วคลิกปุ่ม Next > ดังรูป
- เสร็จแล้วจะขึ้นหน้าต่างถามว่าท่านต้องการให้วินโดว์ค้นหาฮาร์ดแวร์ที่จะติดตั้งหรือไม่ ให้ตอบ No แล้วคลิกปุ่ม Next > ดังรูป
- หลังจากนั้นจะมีหน้าต่างให้เลือกว่า ท่านจะติดตั้งอะไร ให้เลือก โมเด็ม แล้วคลิกปุ่ม Next > ดังรูป
- หลังจากนั้นจะมีหน้าต่างให้เลือกชนิด และความเร็วของโมเด็ม แต่ให้คุณคลิกปุ่ม Have Disk
ดังรูป เสร็จแล้วจะขึ้นหน้าต่างให้ใส่ที่อยู่ของไดรว์เวอร์ที่จะติดตั้ง เช่น ไดรว์ A: หรือ ไดรว์ D: เป็นต้น หรือจะคลิกปุ่ม Brows เพื่อหาไดรว์เวอร์ เมื่อเลือกไดรว์ทเสร็จแล้วให้คลิก OK ตามลำดังเมื่อเลือกไดรว์เสร็จ หลังจากนั้นวินโดวส์จะทำการอ่านและก๊อปปี้ไฟล์ที่จำเป็นในการติดตั้งจากแผ่นดิสก์ หรือ ซีดีรอมลงในเครื่อง ถึงขั้นตอนนี้วินโดวส์อาจจะถามหาไฟล์จากแผ่นซีดี Windows 95,98 ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเตรียมไว้ด้วย
ดังรูป เสร็จแล้วจะขึ้นหน้าต่างให้ใส่ที่อยู่ของไดรว์เวอร์ที่จะติดตั้ง เช่น ไดรว์ A: หรือ ไดรว์ D: เป็นต้น หรือจะคลิกปุ่ม Brows เพื่อหาไดรว์เวอร์ เมื่อเลือกไดรว์ทเสร็จแล้วให้คลิก OK ตามลำดังเมื่อเลือกไดรว์เสร็จ หลังจากนั้นวินโดวส์จะทำการอ่านและก๊อปปี้ไฟล์ที่จำเป็นในการติดตั้งจากแผ่นดิสก์ หรือ ซีดีรอมลงในเครื่อง ถึงขั้นตอนนี้วินโดวส์อาจจะถามหาไฟล์จากแผ่นซีดี Windows 95,98 ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเตรียมไว้ด้วย
เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม Next> จะเห็นหน้าต่างที่แสดงถึงการเสร็จสิ้นการติดตั้งแล้วให้คลิกปุ่ม Finish ถือว่าจบขั้นตอนการติดตั้ง Modem แต่หน้าจอถามให้ใส่รายละเอียดของ ประเทศ ให้เลือกประเทศไทย และหมายเลข Area Code คือ 02 เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม Next>
เสร็จแล้วจะมีหน้าต่างขึ้นมาเพื่อบอกว่าท่านได้ทำการติดตั้งโมเด็มเสร็จแล้ว คลิกปุ่ม Finish ถือว่าเสร็จขั้นตอน
เสร็จแล้วจะมีหน้าต่างขึ้นมาเพื่อบอกว่าท่านได้ทำการติดตั้งโมเด็มเสร็จแล้ว คลิกปุ่ม Finish ถือว่าเสร็จขั้นตอน
Internal Modem หรือเรียกว่าโมเด็มภายใน
จะอยู่ในรูปของการ์ด หรือ อยู่บน Mainboard ของ เครื่องหรือที่เรียกว่า on board ส่วนมากจะถูกออกแบบให้มีลักษณะเป็น Plug & Play หมายความว่าถ้าท่านเสียบโมเด็มเข้ากับแผงระบบของคอมพิวเตอร์ (Main Board) แล้ว ซีพียูจะรับรู้และเข้ามาตรวจเช็คภายหลังจากตรวจหน่วยความจำหลัก ถ้าโมเด็มของท่านวินโดว์ไม่รู้จักท่านต้องติดตั้งเหมือนกับ การติดตั้งโมเด็มภายนอก โดยมีขั้นตอนดังนี้อุปกรณ์ที่ต้องเตรียม
1. โมเด็ม จะอยู่ในรูปของการ์ด หรือ อยู่บนบอร์ด (on board) ก็ได้ ถ้าท่านไม่รู้ว่าเป็นแบบไหน
สอบถามจากร้านที่ซื้อคอมพิวเตอร์ และให้ติดตั้งโมเด็มให้เรียบร้อย2. โทรศัพท์สายตรง 1 หมายเลข พร้อมเสียบสายเข้ากับโมเด็มตรงช่อง Line และ เสียบสายอีกเส้นจากโมเด็มตรงช่อง Phone เข้าเครื่องรับโทรศัพท์
สอบถามจากร้านที่ซื้อคอมพิวเตอร์ และให้ติดตั้งโมเด็มให้เรียบร้อย2. โทรศัพท์สายตรง 1 หมายเลข พร้อมเสียบสายเข้ากับโมเด็มตรงช่อง Line และ เสียบสายอีกเส้นจากโมเด็มตรงช่อง Phone เข้าเครื่องรับโทรศัพท์
- เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่ปัญหาอะไรในระหว่างเข้าหน้าจอวินโดว์ๆ จะตรวจเช็คได้ว่ามีฮาร์ดแวร์ตัวใหม่อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ และถามว่าท่านต้องการจะติดตั้งหรือไม่ ให้ติดตั้งโดยติดตั้งไดรว์เวอร์จากไดรว์ A: หรือ ไดรว์ D: หรือที่อื่นๆ เมื่อติดตั้งเสร็จวินโดว์จะถามว่าจะให้ reset เครื่องใหม่หรือไม่ ให้คลิกปุ่ม Yes เสร็จแล้วเครื่องบูตใหม่ถือว่าเป็นเสร็จสิ้นการติดตั้ง
ที่มา : http://www.oocities.org/techno202544/sarawut/internet/internet01.html
การ์ดเสียง (Sound Card)
Sound Card (การ์ดเสียง) คือ อุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลออกมาในรูปแบบเสียงได้ โดยจะทำหน้าที่ควบเรื่องเสียง อย่างเช่น ถ้าวงจรเสียงใช้กับเกมส์ที่เราเล่นจะเกิด เสียงต่าง ๆ หรือสร้างเสียงเอฟเฟคต่าง ๆ เข้าเป็น วงจรเสียงที่ใช้กับดนตรีชนิดต่าง ๆ สำหรับสร้างสรรค์งานเพลงที่เราต้องการให้มีคุณภาพของเสียงที่ดีขึ้นกว่าเดิม โดยคุณภาพเสียงจะขึ้นอยู่กับรุ่นและยี่ห้อของ Sound Card
ความชัดเจนของเสียงจะมีประสิทธิภาพดีเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ อัตราการสุ่มตัวอย่างและความแม่นยำของตัวอย่างที่ได้ ซึ่งความแม่นยำของตัวอย่างนั้นถูกกำหนดโดยความสามารถของ A/D Converter ว่ามีความละเอียดมากน้อยเพียงใด ทำอย่างไรจึงจะประมาณค่าสัญญาณดิจิตอลได้ใกล้เคียงกับสัญญาณเสียงมากที่สุด ความละเอียดของ A/D Converter นั้นถูกกำหนดโดยจำนวนบิตของสัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต เช่น
- A/D Converter 8 Bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 256 ระดับ
- A/D Converter 16 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 65,536 ระดับ
หากจำนวนระดับมากขึ้นจะทำให้ความละเอียดยิ่งสูงขึ้นและการผิดเพี้ยนของสัญญาณเสียงยิ่งน้อยลง นั่นคือ ประสิทธิภาพที่ของเสียงที่ได้รับดีขึ้นนั่นเองแต่จำนวนบิตต่อหนึ่งตัวอย่างจะมากขึ้นด้วย
ความชัดเจนของเสียงจะมีประสิทธิภาพดีเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ อัตราการสุ่มตัวอย่างและความแม่นยำของตัวอย่างที่ได้ ซึ่งความแม่นยำของตัวอย่างนั้นถูกกำหนดโดยความสามารถของ A/D Converter ว่ามีความละเอียดมากน้อยเพียงใด ทำอย่างไรจึงจะประมาณค่าสัญญาณดิจิตอลได้ใกล้เคียงกับสัญญาณเสียงมากที่สุด ความละเอียดของ A/D Converter นั้นถูกกำหนดโดยจำนวนบิตของสัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต เช่น
- A/D Converter 8 Bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 256 ระดับ
- A/D Converter 16 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 65,536 ระดับ
หากจำนวนระดับมากขึ้นจะทำให้ความละเอียดยิ่งสูงขึ้นและการผิดเพี้ยนของสัญญาณเสียงยิ่งน้อยลง นั่นคือ ประสิทธิภาพที่ของเสียงที่ได้รับดีขึ้นนั่นเองแต่จำนวนบิตต่อหนึ่งตัวอย่างจะมากขึ้นด้วย
ชนิดของการ์ดเสียง (Sound Card) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ซึ่งแบ่งชนิดออกตามอดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่
1. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ ISA ซึ่งผลิตออกมานานแล้วจะใช้ร่วมกับเมนบอร์ดรุ่นเก่าที่มีสล็อต ISA ระบบเสียงยังไม่ได้คุณภาพ แต่ก็เป็นการ์ดเสียง ที่ได้รับการนิยมในสมัยอดีด แต่ในปัจจุบันการ์ดเสียงแบบ ISA ไม่มีแล้ว
2. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ PCI เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถสังเคราะห์เสียงได้อย่างมีคุณภาพและมีราคาไม่แพงมากแต่ก็มีราคาแพงในบางรุ่น สามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ
3. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ชนิดของการ์ดเสียง (Sound Card) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท แต่ที่จัด การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ออกเป็นประเภทที่ 3 ก็เพราะว่าการ์ดเสียงแบบนี้เริ่มมีให้เห็นกันมากขึ้น อีกทั้งยังมีการติดตั้งที่แตกต่างจาก การ์ดเสียง (Sound Card) ที่บอกมาข้างต้นด้วย โดยสามารถที่จะติดตั้งโดยผ่านทางพอร์ต USB ทำให้ในการใช้งานนั้นสามารถทำได้ง่ายยิ่งขึ้น

1. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ ISA ซึ่งผลิตออกมานานแล้วจะใช้ร่วมกับเมนบอร์ดรุ่นเก่าที่มีสล็อต ISA ระบบเสียงยังไม่ได้คุณภาพ แต่ก็เป็นการ์ดเสียง ที่ได้รับการนิยมในสมัยอดีด แต่ในปัจจุบันการ์ดเสียงแบบ ISA ไม่มีแล้ว
2. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ PCI เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถสังเคราะห์เสียงได้อย่างมีคุณภาพและมีราคาไม่แพงมากแต่ก็มีราคาแพงในบางรุ่น สามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ
3. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ชนิดของการ์ดเสียง (Sound Card) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท แต่ที่จัด การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ออกเป็นประเภทที่ 3 ก็เพราะว่าการ์ดเสียงแบบนี้เริ่มมีให้เห็นกันมากขึ้น อีกทั้งยังมีการติดตั้งที่แตกต่างจาก การ์ดเสียง (Sound Card) ที่บอกมาข้างต้นด้วย โดยสามารถที่จะติดตั้งโดยผ่านทางพอร์ต USB ทำให้ในการใช้งานนั้นสามารถทำได้ง่ายยิ่งขึ้น
การเลืกซื้อการ์ดเสียง
เลือกให้เหมาะสมกับการใช้งาน เนื่องจาก Sound Card ก็เช่นเดียวกับ อุปกรณ์อื่นๆ ซึ่งมีหลายรุ่นออกมา เพื่อรองรับ กลุ่มลูกค้า และความต้องการ ใช้งานที่หลากหลาย แตกต่างกันไป ดังนั้น เราจึงควรดูว่าระดับ การใช้งานของเรา เป็นเช่นไร หากเลือกซื้อ Sound Card เพื่อไปใช้งาน กับคอมพิวเตอร์ใน office แล้ว เราคงไม่ต้องการ ศักยภาพ ในด้านของการสร้างเสียงแบบ 3 มิติที่ให้ เสียงกระหึ่ม และมีความสมจริง เท่าไหร่นัก นัก แต่ที่ ต้องการนั่นคือ การ์ดเสียงคุณภาพ ปานกลาง ที่สามารถสร้างเสียง ให้เพียงพอ ต่อการฟังเพลง หรือสังเคราะห์เสียง เบื้องต้น เท่านั้น อย่างการ์ด Addonic SV1550 ซึ่งใช้ Chip ของ Yamaha ที่ราคา 715 บาท หรือ Creative SoundBlaster Vibra 128 ที่ราคา 805 บาท หากต้องการ การ์ดเสียง ที่สร้างเสียงให้มีมิติ ที่กว้างและสมจริงเพื่อรองรับ การเล่มเกมส์รุ่นใหม่ๆ แล้ว คงต้องเลือก การ์ดเสียง ที่มีราคา สูงขึ้นมาอีก อย่าง Creative SoundBlaster Live! Value ที่ราคา 2,195 บาท หรือ Diamond Monster Sound MX300 และ MX400 ที่ราคา 3,150 และ 3,350 บาท ตามลำดับ แต่หากต้องการ การ์ดเสียงในระดับ High End ที่รองรับระบบเสียงแบบ Dolby AC-3 คงต้องเป็น Creative SoundBlaster Live Platinum ซึ่งจะให้ความสมจริง มากยิ่งขึ้น แต่ก็คง ต้องแลก ด้วยราคา ที่สูงกว่าเท่าตัว มีข้อแนะนำ เล็กน้อย สำหรับคอเพลง ทั้งหลาย ที่ไม่มุ่งหวัง การเล่นเกมส์ เท่าไหร่นัก กลุ่มผู้ใช้ระดับนี้ ควรเลือกใช้ การ์ดเสียง ระดับปานกลาง จะเหมาะสมกว่า เพราะว่า Card ที่ราคา ไม่ถึงพันบาทนั้น จะสังเคราะห์เสียง ได้ไม่ดี เท่าที่ควร จริงอยู่ ที่ว่า สามารถ เล่นเพลง ในระบบ Stereo ได้ แต่ความไพเราะ หรือความสมจริง ของเส้นเสียง และเครื่องดนตรี จะยังไม่ถึงขั้นมืออาชีพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น