วันจันทร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2557
วันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 8 อุปกรณ์ต่อพ่วง
อุปกรณ์ต่อพ่วง
คือ อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้ เช่น
1. คีย์บอร์ด (Keyboard) อุปกรณ์รับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัส เพื่อบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการกดตัวอักษรอะไร แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานของเครื่องพิมพ์ดีด ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักขระที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์เป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต (Operator)
คือ อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้ เช่น
1. คีย์บอร์ด (Keyboard) อุปกรณ์รับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัส เพื่อบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการกดตัวอักษรอะไร แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานของเครื่องพิมพ์ดีด ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักขระที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์เป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต (Operator)
2 เมาส์ (Mouse) อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลโดยการเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับตัวชี้ไปยังตำแหน่งต่างๆ บนหน้าจอ
3. OCR (Optical Character Reader) อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล โดยใช้วิธีการอ่านข้อมูลด้วยลำแสงในลักษณะพาดขวางบนเอกสารที่มีข้อมูลอยู่ แล้วแปลงรหัสเป็นสัญญาณไฟฟ้าเข้าไปเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์โอซีอาร์ที่เราสามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Barcode reader)
4. OMR (Optical Mark Reader) อุปกรณ์นำเข้าที่ทำงานโดยการอ่านข้อมูลจากการทำเครื่องหมายด้วยดินสอและปากกาลงบนกระดาษคำตอบ (Answer sheet) ซึ่งถูกออกแบบมาโดยเฉพาะ
5. สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลที่เป็นเอกสาร รูปภาพ หรือ รูปถ่าย
7. ปากกาแสง (Light Pen) เป็นอุปกรณ์ทำงานคล้ายกับเมาส์ในการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่เหมาะสำหรับงานวาดภาพ
8. จอยสติก (Joy Sticks) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมทิศทางของวัตถุบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่จะใช้ในการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ มีทั้งที่เป็นแบบแบน แบบคันโยก หรือ แบบพวงมาลัย
9. จอสัมผัส (Touch Screen) เป็นจอภาพชนิดพิเศษที่ใช้ระบบสัมผัสแทนการใช้คีย์บอร์ดและเมาส์ นิยมนำมาใช้กับงาน
10. เครื่องเทอร์มินัล (Point of Sale Terminal) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลอีกอย่างหนึ่งที่นิยมใช้ในร้านค้า เครื่องเทอร์มินัลนี้จะมีแป้นพิมพ์สำหรับกรอกข้อมูล มีจอภาพเล็กๆ เพื่อใช้แสดงผลต่างๆ และมีเครื่องพิมพ์สำหรับพิมพ์รายการ ทั้งนี้สามารถนำเครื่องอ่านรหัสบาร์โค๊ดเข้ามาช่วยในการรับข้อมูลได้ ซึ่งช่วยลดความผิดพลาดอันอาจเกิดจากการกรอกข้อมูลที่มีจำนวนมาก
11. กล้องดิจิทัล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถแปลงข้อมูลภาพเป็นสัญญาณดิจิทัล มีลักษณะการใช้งานเหมือนกล้องถ่ายภาพทั่วไป แต่ต่างกันตรงที่ไม่ต้องใช้ฟิล์มในการบันทึกข้อมูล ข้อมูลภาพที่ได้สามารถถ่ายลงสู่เครื่องคอมพิวเตอร์และสามารถเรียกดูได้ทันที หรือจะใช้โปรแกรมช่วยตกแต่งภาพให้ดูสวยงามขึ้นก็ได้
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/
วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557
วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 7 โมเด็มและการ์ดแสดงเสียง
มาตรฐานโมเด็ม
สำหรับมาตรฐานของโมเด็มนั้น จะถูกกำหนดมาโดย International Telecommunication Union หรือที่รู้จักกันดี ITU ซึ่งหน่วยนี้จะเป็น หน่วยงานที่องค์การสหประชาชาติตั้งขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถใหม่ให้กับโมเด็ม สำหรับมาตรฐานใหม่และในปัจจุบันก็เป็นที่นิยมกันอย่างมากก็คือมาตรฐาน V.90 ที่มีความรวดเร็วในการเชื่อมต่อที่ 56Kbps แต่หลังจากนั้นก็ได้มีการกำหนดมาตรฐานใหม่ล่าสุดเป็น V.92เพื่อเพิ่มความสามารถของโมเด็มให้ดีมากยิ่ง ขึ้น โดยความสามารถใหม่นั้นจะมีอยู่ 3 อย่างด้วยกันนั้นคือ Quick Connect, Modem on Hold และ PCM Upstream
Quick Connect
มีรูปแบบเพื่อให้สามารถทำการเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ISP ได้รวดเร็วขึ้นกว่าเดิม 50 เปอร์เซ็นต์
PCM Upstream
ช่วยให้การอัพโหลดข้อมูลต่างๆ ทำได้รวดเร็วมากขึ้น ซึ่งจะสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 48,000bps โดยที่มาตรฐาน V.90 เดิมทำได้เพียงแค่ 33,600bps
Modem on Hold
ท่านเคยสังเกตไหมครับว่าเวลาใช้งานอินเทอร์เน็ต แล้วถ้ามีสายโทรศัพท์เรียกเข้าในระหว่างใช้อินเทอร์เน็ต สายมักจะชอบ หลุด แต่ด้วยเทคโนโลยีนี้จะทำให้ท่านสามารถรับโทรศัพท ์เมื่อมีสายเรียก เข้า โดยที่ไม่ต้องออกจากการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ท่านจะต้องขอใช้บริการรับ สายเรียกซ้อนจากผู้ให้บริการโทรศัพท์ที่ท่านใช้ และทาง ISP จะต้องเปิดให้บริการมาตรฐาน V.92 ด้วย
สำหรับมาตรฐานของโมเด็มนั้น จะถูกกำหนดมาโดย International Telecommunication Union หรือที่รู้จักกันดี ITU ซึ่งหน่วยนี้จะเป็น หน่วยงานที่องค์การสหประชาชาติตั้งขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถใหม่ให้กับโมเด็ม สำหรับมาตรฐานใหม่และในปัจจุบันก็เป็นที่นิยมกันอย่างมากก็คือมาตรฐาน V.90 ที่มีความรวดเร็วในการเชื่อมต่อที่ 56Kbps แต่หลังจากนั้นก็ได้มีการกำหนดมาตรฐานใหม่ล่าสุดเป็น V.92เพื่อเพิ่มความสามารถของโมเด็มให้ดีมากยิ่ง ขึ้น โดยความสามารถใหม่นั้นจะมีอยู่ 3 อย่างด้วยกันนั้นคือ Quick Connect, Modem on Hold และ PCM Upstream
Quick Connect
มีรูปแบบเพื่อให้สามารถทำการเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ISP ได้รวดเร็วขึ้นกว่าเดิม 50 เปอร์เซ็นต์
PCM Upstream
ช่วยให้การอัพโหลดข้อมูลต่างๆ ทำได้รวดเร็วมากขึ้น ซึ่งจะสามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 48,000bps โดยที่มาตรฐาน V.90 เดิมทำได้เพียงแค่ 33,600bps
Modem on Hold
ท่านเคยสังเกตไหมครับว่าเวลาใช้งานอินเทอร์เน็ต แล้วถ้ามีสายโทรศัพท์เรียกเข้าในระหว่างใช้อินเทอร์เน็ต สายมักจะชอบ หลุด แต่ด้วยเทคโนโลยีนี้จะทำให้ท่านสามารถรับโทรศัพท ์เมื่อมีสายเรียก เข้า โดยที่ไม่ต้องออกจากการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ท่านจะต้องขอใช้บริการรับ สายเรียกซ้อนจากผู้ให้บริการโทรศัพท์ที่ท่านใช้ และทาง ISP จะต้องเปิดให้บริการมาตรฐาน V.92 ด้วย
นอกจากโมเด็มในแบบอนาล็อกที่มีการส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็ว 56K ที่ปัจจุบันเป็นที่นิยมกันมากสำหรับคออินเทอร์เน็ตราคาถูก (ผมด้วย อิ..อิ) ปัจจุบันก็สามารถพัฒนาให้สามารถส่งผ่านข้อมูลในแบบดิจิตอลโดยตรง เพื่อให้การส่งผ่านข้อมูลไม่ว่าจะเป็นการดาวน์โหลดข้อมูล (downstream) หรืออัพ โหลดข้อมูล (upstream) ทำได้รวดเร็วมากขึ้นกว่าเดิม พร้อมกับรองรับการประชุมทางไกลทั้งภาพ และเสียง( VDO Conference) ที่กำลังนิยมใช้งานกัน ตามบริษัทด้วย สำหรับโมเด็มที่ออกมารองรับการใช้งานดังกล่าวนั้นก็จะมีออกมาใช้อยู่ 3 แบบ ได้แก่ Cable Modem, ISDN Modem และที่กำลังร้อนแรง ในขณะนี้ ADSL Modem
Cable Modem |
Cable Modem
จะใช้การส่งสัญญาณข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายต่างๆ โดยใช้สายนำสัญญาณ เช่น สายเคเบิลใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic ) และสายโคแอคเชียล มาทำงานร่วมกันโดยจะเรียกระบบนี้ว่า HFC หรือ Hybrid Fiber Coaxial Network ความสามารถของเคเบิลโมเด็มก็จะมีตั้งแต่ สามารถดาวน์โหลด ข้อมูลได้สูงสุดถึง 10Mbps และอัพโหลดข้อมูลได้สูงสุดถึง 2Mbps และไม่มีปัญหาของสายหลุดในระหว่างการใช้งานเพราะ Cable Modem จะเป็นการ เชื่อมต่ออยู่ตลอดเวลา แต่ค่อนข้างจะมีพื้นที่ให้บริการที่จำกัดไม่ค่อยจะทั่วถึงถ้าเกิดมีจำนวนผู้ใช้มากขึ้นก็จะทำให้ความเร็วลดลง และไม่มีค่อยความปลอดภัย ของข้อมูลในระหว่างการใช้งานด้วย
จะใช้การส่งสัญญาณข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายต่างๆ โดยใช้สายนำสัญญาณ เช่น สายเคเบิลใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic ) และสายโคแอคเชียล มาทำงานร่วมกันโดยจะเรียกระบบนี้ว่า HFC หรือ Hybrid Fiber Coaxial Network ความสามารถของเคเบิลโมเด็มก็จะมีตั้งแต่ สามารถดาวน์โหลด ข้อมูลได้สูงสุดถึง 10Mbps และอัพโหลดข้อมูลได้สูงสุดถึง 2Mbps และไม่มีปัญหาของสายหลุดในระหว่างการใช้งานเพราะ Cable Modem จะเป็นการ เชื่อมต่ออยู่ตลอดเวลา แต่ค่อนข้างจะมีพื้นที่ให้บริการที่จำกัดไม่ค่อยจะทั่วถึงถ้าเกิดมีจำนวนผู้ใช้มากขึ้นก็จะทำให้ความเร็วลดลง และไม่มีค่อยความปลอดภัย ของข้อมูลในระหว่างการใช้งานด้วย
ISDN Modem |
ISDN Modem
หรือ Integrated Services Digital Network ได้รับการพัฒนาเพื่อมารองรับการส่งผ่านข้อมูลประเภทภาพ และเสียงผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น การประชุมทางไกล, video streaming, Video Conference สามารถสนับสนุนความเร็วได้ตั้งแต่ 57.6Kbps - 128Kbps ซึ่งรูปแบบที่ให้บริการ สำหรับ ISDN นั้นจะมีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ
ประเภทแรก Basic Access Interface หรือ BRI การเชื่อมต่อแบบนี้จะเหมาะกับผู้ใช้ในทุกๆ ระดับ ตั้งแต่ผู้ใช้ตามบ้านจนไปถึงองค์กรธุรกิจ ขนาดใหญ่ โดยสายสัญญาณที่นำมาใช้ก็จะเป็นสาย โทรศัพท์ธรรมดา ซึ่งจะเป็นการแลกเปลี่ยนกันระหว่างชุมสายของผู้ใช้บริการ และผู้ใช้ ISDN และ ISDN จะใช้ช่องสัญญาณทั้งหมด 2 ช่องโดยแต่ละช่องจะสามารถส่งผ่านข้อมูลได้สูงสุดที่ 64Kbps ฉะนั้นจึงรวมเป็น 128Kbps
ประเภทที่สอง Primary Rate Interface หรือ PRI ส่วนแบบนี้จะเหมาะกับองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ที่ต้องการช่องสัญญาณขนาดใหญ่เพื่อรอง รับกับข้อมูลจำนวนมาก ๆ ส่วนสายสัญญาณที่ใช้นั้นจะมีอยู่ 2 แบบ โดยแบบแรกนั้นจะใช้สาย Fiber Optic ซึ่งผู้ให้บริการมักจะติดตั้งสายประเภทนี้ไว้ตาม สถานที่สำคัญทางธุรกิจ เพราะความสามารถจากสาย Fiber Optic ที่สามารถรักษาความปลอดภัยในระหว่างการส่งผ่านข้อมูลได้มากกว่า สำหรับสายแบบ ที่สองนั้น ก็จะใช้กับพื้นที่บริการที่ไม่สามารถวางสาย Fiber Optic ได้ โดยจะใช้เป็นสายโทรศัพท์ หรือสายทองแดงแทน แต่จะติดตั้งอุปกรณ์ HDSL ISDN รูปแบบนี้จะมีจำนวนของช่องสัญญาณถึง 30 ช่อง โดยในแต่ละช่องก็จะมีขนาดความกว้างของช่องสัญญาณเหมือนกับประเภท BRI คือ 64Kbps ฉะนั้นเมื่อ รวมทั้งหมดก็จะได้ขนาดของช่องสัญญาณที่ส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดถึง 2.048Mbps หรือประมาณ 2Mbps
หรือ Integrated Services Digital Network ได้รับการพัฒนาเพื่อมารองรับการส่งผ่านข้อมูลประเภทภาพ และเสียงผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น การประชุมทางไกล, video streaming, Video Conference สามารถสนับสนุนความเร็วได้ตั้งแต่ 57.6Kbps - 128Kbps ซึ่งรูปแบบที่ให้บริการ สำหรับ ISDN นั้นจะมีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ
ประเภทแรก Basic Access Interface หรือ BRI การเชื่อมต่อแบบนี้จะเหมาะกับผู้ใช้ในทุกๆ ระดับ ตั้งแต่ผู้ใช้ตามบ้านจนไปถึงองค์กรธุรกิจ ขนาดใหญ่ โดยสายสัญญาณที่นำมาใช้ก็จะเป็นสาย โทรศัพท์ธรรมดา ซึ่งจะเป็นการแลกเปลี่ยนกันระหว่างชุมสายของผู้ใช้บริการ และผู้ใช้ ISDN และ ISDN จะใช้ช่องสัญญาณทั้งหมด 2 ช่องโดยแต่ละช่องจะสามารถส่งผ่านข้อมูลได้สูงสุดที่ 64Kbps ฉะนั้นจึงรวมเป็น 128Kbps
ประเภทที่สอง Primary Rate Interface หรือ PRI ส่วนแบบนี้จะเหมาะกับองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ที่ต้องการช่องสัญญาณขนาดใหญ่เพื่อรอง รับกับข้อมูลจำนวนมาก ๆ ส่วนสายสัญญาณที่ใช้นั้นจะมีอยู่ 2 แบบ โดยแบบแรกนั้นจะใช้สาย Fiber Optic ซึ่งผู้ให้บริการมักจะติดตั้งสายประเภทนี้ไว้ตาม สถานที่สำคัญทางธุรกิจ เพราะความสามารถจากสาย Fiber Optic ที่สามารถรักษาความปลอดภัยในระหว่างการส่งผ่านข้อมูลได้มากกว่า สำหรับสายแบบ ที่สองนั้น ก็จะใช้กับพื้นที่บริการที่ไม่สามารถวางสาย Fiber Optic ได้ โดยจะใช้เป็นสายโทรศัพท์ หรือสายทองแดงแทน แต่จะติดตั้งอุปกรณ์ HDSL ISDN รูปแบบนี้จะมีจำนวนของช่องสัญญาณถึง 30 ช่อง โดยในแต่ละช่องก็จะมีขนาดความกว้างของช่องสัญญาณเหมือนกับประเภท BRI คือ 64Kbps ฉะนั้นเมื่อ รวมทั้งหมดก็จะได้ขนาดของช่องสัญญาณที่ส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุดถึง 2.048Mbps หรือประมาณ 2Mbps
ADSL Modem | Wireless ADSL Modem |
ADSL Modem
หรือ Asymmetric Digital Subscriber Line การเชื่อมต่อในแบบ ADSL นับเป็นนวัตกรรมการส่งข้อมูลสายโทรศัพท์พื้นฐานเป็นที่นิยมมาก ที่สุด โดยจะมีอัตราในการส่งข้อมูล ดาวน์โหลด สูงสุดที่ 8Mbps และอัพโหลดข้อมูลที่ 1Mbps เทคโนโลยีนี้ยังมีความสามารถในการแบ่ง รหัสสัญญาณข้อ มูลเสียงโดยการแยกความถี่ของเสียงที่มีความถี่ไม่เกิน 4KHz ออกจากความถี่ของสัญญาณข้อมูลที่มีความถี่ตั้งแต่ 2MHz โดยอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ ในการแบ่ง ความถี่นี้จำเป็นที่จะต้องนำมาติดตั้งร่วมกับ ADSL โมเด็ม อุปกรณ์ที่ว่านี้เรียกว่า Pots Splitter ซึ่งจะติดตั้งอยู่ทั้งชุมสายโทรศัพท์และผู้ใช้ ดังนั้นผู้ใช้จึง สามารถใช้โทรศัพท ์ร่วมกันได ้ใน ระหว่างที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต Pots Splitter จะมีลักษณะคล้ายกับเต้าเสียบโทรศัพท์ตามบ้านทั่วๆไปที่จะมีพอร์ต คอนเน็ก เตอร์หัว RJ-11อยู่ 2 ช่อง โดยจะมีช่องหนึ่งไว้ให้สำหรับเสียบเข้ากับโมเด็ม และช่องที่เหลืออีกช่องเอา ไว้ให้สำหรับเสียบเข้ากับเครื่องโทรศัพท์
อะไรที่ทำให้คออินเทอร์เน็ตทั้งหลายในปัจจุบันจึงนิยมติดตั้งใช้งานอินเทอร์เน็ตในแบบ ADSL อย่างแรกก็คือความสะดวกสบายในการเชื่อมต่อ ผู้ใช้สามารถที่ Access ใช้งานทันท ีโดยที่ไม่ต้องหมุนโทรศัพท์เหมือนโมเด็ม ISDN เพราะ ADSLจะทำการเชื่อมต่ออยู่ตลอดเวลา (Always-On-Access) สายสัญญาณ ADSL ยังเป็นอิสระในการใช้งานโดยที่ไม่ได้ไปแชร์สายสัญญาณเหมือน Cable Modem นั้นผู้ใช้จึงมั่นใจในเรื่องความปลอดภัย ได้
อินเทอร์เฟซต่างๆด้านหลัง ADSL Modem |
Port Splitter อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับแยกสัญญาณความถี่ |
ประเภท และแนวทางในการเลือกซื้อ ADSL โมเด็ม
สำหรับ ADSL โมเด็มจะมีให้เลือกใช้อยู่ 2 ประเภทเหมือนกับโมเด็มในแบบอนาล็อก คือ แบบที่ติดตั้งใช้งานภายใน และแบบที่ติดตั้งใช้งานภายนอก
สำหรับ ADSL โมเด็มจะมีให้เลือกใช้อยู่ 2 ประเภทเหมือนกับโมเด็มในแบบอนาล็อก คือ แบบที่ติดตั้งใช้งานภายใน และแบบที่ติดตั้งใช้งานภายนอก
การเลือกใช้งานโมเด็ม
1. การเลือกซื้อ Modem จะต้องดูว่าใช้กับเครื่องคอมฯ รุ่นไหน Notebook หรือ Desktop
2. ตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนว่ามี COM port ว่างหรือไม่
3. ความเร็ว - มีหน่วยเป็น Kbps กิโลบิตต่อวินาที ปัจจุบันเราควรเลือกที่ความเร็ว 56Kpbs
4. การอัปเกรด - ตรวจสอบดูด้วยว่า ในอนาคตสามารถอัปเกรดความสามารถใหม่ ๆ ได้หรือไม่ เช่น ความเร็ว เป็นต้น
5. โปรแกรมที่แถมว่า - นอกจาก driver ที่จำเป็นต้องมีแล้ว ควรสอบถามโปรแกรมการใช้งานอื่น ๆ ด้วย เช่น โปรแกรมส่งแฟ็กซ์ เป็นต้น
6. คุณสมบัติด้านเสียง - โมเด็มบางรุ่นมีคุณสมบัติด้านเสียงเพิ่มเติมเข้ามา ซึ่งอาจทำให้เราสามารถนำไปใช้ในระบบ Answering Machine
7. รองรับการทำงานวินโดวส์เวอร์ชั่น 95 , 98 , 2000 , และ XP
8. ถ้ามีความชำนาญเลือกแบบ Internal แต่ถ้ามือใหม่เลือกแบบ External
9. เลือกยี่ห้อที่ดี มีตัวแทนจำหน่ายในประเทศรับประกันยาว 3 - 5 ปียิ่งดี เช่น Diamond Supra , Aztech , US robotic , Jaton , Intel , GVC
10. เลือกพอร์ตแบบ parallel Port
2. ตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนว่ามี COM port ว่างหรือไม่
3. ความเร็ว - มีหน่วยเป็น Kbps กิโลบิตต่อวินาที ปัจจุบันเราควรเลือกที่ความเร็ว 56Kpbs
4. การอัปเกรด - ตรวจสอบดูด้วยว่า ในอนาคตสามารถอัปเกรดความสามารถใหม่ ๆ ได้หรือไม่ เช่น ความเร็ว เป็นต้น
5. โปรแกรมที่แถมว่า - นอกจาก driver ที่จำเป็นต้องมีแล้ว ควรสอบถามโปรแกรมการใช้งานอื่น ๆ ด้วย เช่น โปรแกรมส่งแฟ็กซ์ เป็นต้น
6. คุณสมบัติด้านเสียง - โมเด็มบางรุ่นมีคุณสมบัติด้านเสียงเพิ่มเติมเข้ามา ซึ่งอาจทำให้เราสามารถนำไปใช้ในระบบ Answering Machine
7. รองรับการทำงานวินโดวส์เวอร์ชั่น 95 , 98 , 2000 , และ XP
8. ถ้ามีความชำนาญเลือกแบบ Internal แต่ถ้ามือใหม่เลือกแบบ External
9. เลือกยี่ห้อที่ดี มีตัวแทนจำหน่ายในประเทศรับประกันยาว 3 - 5 ปียิ่งดี เช่น Diamond Supra , Aztech , US robotic , Jaton , Intel , GVC
10. เลือกพอร์ตแบบ parallel Port
การติดตั้ง โมเด็ม
ขั้นตอนการเตรียมและติดตั้งอุปกรณ์ อุปกรณ์ที่จำเป็นประกอบด้วย
1. โมเด็ม และอุปกรณ์อื่นๆ ที่จำเป็น เช่น สายสัญญาณ , ตัวแปลงไฟ , ไดรว์เวอร์
2. โทรศัพท์สายตรง 1 หมายเลขต่อสายโมเด็มเข้าด้านหลังเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยต่อเข้ากับพอร์ต com1, com2 หรือ LPT1 อย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อสายโทรเข้ากับโมเด็มตรงช่อง Line ในกรณีที่ท่านต้องการรับโทรศัพท์สายนอกที่โทรเข้ามาให้ท่านต่อ สายโทรศัพท์อีกเส้นจากตัวโทรศัพท์ไปที่โมเด็มตรงช่อง Phone (หมายเหตุ ถ้าท่านกำลังใช้อินเตอร์เน็ตอยู่แล้วมีคนโทรเข้ามา จะมีผลให้การติดต่ออินเตอร์เน็ตหลุดทันที) เสร็จแล้วให้ต่อตัวแปลงไฟ (adapter) และเสียบปลั๊กพร้อมเปิดสวิชต์โมเดมให้เรียบร้อย เมื่อต่ออุปกรณ์ต่างๆ เสร็จแล้วให้เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการติดตั้ง Driver (Software Modem) มีดังนี้
- เรียกหน้าต่าง Control Panel ขึ้นมาโดยคลิกปุ่ม Start > Settings > แล้วเลื่อนเมาส์มาที่ Control Panel คลิกเมาส์หนึ่งครั้ง สำหรับผู้ที่ใช้ Windows 95 หรือ 98 ก็ทำลักษณะเดียวกัน ดังรูป
2. โทรศัพท์สายตรง 1 หมายเลขต่อสายโมเด็มเข้าด้านหลังเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยต่อเข้ากับพอร์ต com1, com2 หรือ LPT1 อย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อสายโทรเข้ากับโมเด็มตรงช่อง Line ในกรณีที่ท่านต้องการรับโทรศัพท์สายนอกที่โทรเข้ามาให้ท่านต่อ สายโทรศัพท์อีกเส้นจากตัวโทรศัพท์ไปที่โมเด็มตรงช่อง Phone (หมายเหตุ ถ้าท่านกำลังใช้อินเตอร์เน็ตอยู่แล้วมีคนโทรเข้ามา จะมีผลให้การติดต่ออินเตอร์เน็ตหลุดทันที) เสร็จแล้วให้ต่อตัวแปลงไฟ (adapter) และเสียบปลั๊กพร้อมเปิดสวิชต์โมเดมให้เรียบร้อย เมื่อต่ออุปกรณ์ต่างๆ เสร็จแล้วให้เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการติดตั้ง Driver (Software Modem) มีดังนี้
- เรียกหน้าต่าง Control Panel ขึ้นมาโดยคลิกปุ่ม Start > Settings > แล้วเลื่อนเมาส์มาที่ Control Panel คลิกเมาส์หนึ่งครั้ง สำหรับผู้ที่ใช้ Windows 95 หรือ 98 ก็ทำลักษณะเดียวกัน ดังรูป
- หลังจากเข้ามาในหน้าต่าง Control Panel แล้วดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Add New Hardware สำหรับผู้ที่ใช้วินโดวส์ 95 หรือ 98 ถึงแม้หน้าต่างของ Control Panel จะแตกต่างออกไปแต่ยังใช้ไอคอนเดียวกัน ดังรูป
- หลังจากนั้นจะขึ้นหน้าต่างในการเตรียมพร้อมเพื่อติดตั้งให้คลิกเมาส์ปุ่ม Next > ดังรูป 1.3
เสร็จแล้ววินโดวส์จะขึ้นหน้าต่างใหม่ขึ้นมาเพื่อแจ้งว่าวินโดว์จะค้นหาฮาร์ดแวร์ที่มีอยู่แล้วบนเครื่องของท่านให้คลิกปุ่ม Next > ดังรูป
- ถ้าวินโดว์เจอฮาร์ดแวร์ที่อยู่บนเครื่องของท่านและยังไม่ได้ติดตั้งไดรว์เวอร์ วินโดว์จะขึ้นหน้า
จอถามว่าท่านต้องการติดตั้งฮาร์ดแวร์ที่วินโดว์เจอหรือไม่ ซึ่งจะมีช้อยให้เลือกว่า จะตอบ No หรือ Yes ให้ท่านตอบ No แล้วคลิกปุ่ม Next > ดังรูป
จอถามว่าท่านต้องการติดตั้งฮาร์ดแวร์ที่วินโดว์เจอหรือไม่ ซึ่งจะมีช้อยให้เลือกว่า จะตอบ No หรือ Yes ให้ท่านตอบ No แล้วคลิกปุ่ม Next > ดังรูป
- เสร็จแล้วจะขึ้นหน้าต่างถามว่าท่านต้องการให้วินโดว์ค้นหาฮาร์ดแวร์ที่จะติดตั้งหรือไม่ ให้ตอบ No แล้วคลิกปุ่ม Next > ดังรูป
- หลังจากนั้นจะมีหน้าต่างให้เลือกว่า ท่านจะติดตั้งอะไร ให้เลือก โมเด็ม แล้วคลิกปุ่ม Next > ดังรูป
- หลังจากนั้นจะมีหน้าต่างให้เลือกชนิด และความเร็วของโมเด็ม แต่ให้คุณคลิกปุ่ม Have Disk
ดังรูป เสร็จแล้วจะขึ้นหน้าต่างให้ใส่ที่อยู่ของไดรว์เวอร์ที่จะติดตั้ง เช่น ไดรว์ A: หรือ ไดรว์ D: เป็นต้น หรือจะคลิกปุ่ม Brows เพื่อหาไดรว์เวอร์ เมื่อเลือกไดรว์ทเสร็จแล้วให้คลิก OK ตามลำดังเมื่อเลือกไดรว์เสร็จ หลังจากนั้นวินโดวส์จะทำการอ่านและก๊อปปี้ไฟล์ที่จำเป็นในการติดตั้งจากแผ่นดิสก์ หรือ ซีดีรอมลงในเครื่อง ถึงขั้นตอนนี้วินโดวส์อาจจะถามหาไฟล์จากแผ่นซีดี Windows 95,98 ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเตรียมไว้ด้วย
ดังรูป เสร็จแล้วจะขึ้นหน้าต่างให้ใส่ที่อยู่ของไดรว์เวอร์ที่จะติดตั้ง เช่น ไดรว์ A: หรือ ไดรว์ D: เป็นต้น หรือจะคลิกปุ่ม Brows เพื่อหาไดรว์เวอร์ เมื่อเลือกไดรว์ทเสร็จแล้วให้คลิก OK ตามลำดังเมื่อเลือกไดรว์เสร็จ หลังจากนั้นวินโดวส์จะทำการอ่านและก๊อปปี้ไฟล์ที่จำเป็นในการติดตั้งจากแผ่นดิสก์ หรือ ซีดีรอมลงในเครื่อง ถึงขั้นตอนนี้วินโดวส์อาจจะถามหาไฟล์จากแผ่นซีดี Windows 95,98 ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเตรียมไว้ด้วย
เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม Next> จะเห็นหน้าต่างที่แสดงถึงการเสร็จสิ้นการติดตั้งแล้วให้คลิกปุ่ม Finish ถือว่าจบขั้นตอนการติดตั้ง Modem แต่หน้าจอถามให้ใส่รายละเอียดของ ประเทศ ให้เลือกประเทศไทย และหมายเลข Area Code คือ 02 เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม Next>
เสร็จแล้วจะมีหน้าต่างขึ้นมาเพื่อบอกว่าท่านได้ทำการติดตั้งโมเด็มเสร็จแล้ว คลิกปุ่ม Finish ถือว่าเสร็จขั้นตอน
เสร็จแล้วจะมีหน้าต่างขึ้นมาเพื่อบอกว่าท่านได้ทำการติดตั้งโมเด็มเสร็จแล้ว คลิกปุ่ม Finish ถือว่าเสร็จขั้นตอน
Internal Modem หรือเรียกว่าโมเด็มภายใน
จะอยู่ในรูปของการ์ด หรือ อยู่บน Mainboard ของ เครื่องหรือที่เรียกว่า on board ส่วนมากจะถูกออกแบบให้มีลักษณะเป็น Plug & Play หมายความว่าถ้าท่านเสียบโมเด็มเข้ากับแผงระบบของคอมพิวเตอร์ (Main Board) แล้ว ซีพียูจะรับรู้และเข้ามาตรวจเช็คภายหลังจากตรวจหน่วยความจำหลัก ถ้าโมเด็มของท่านวินโดว์ไม่รู้จักท่านต้องติดตั้งเหมือนกับ การติดตั้งโมเด็มภายนอก โดยมีขั้นตอนดังนี้อุปกรณ์ที่ต้องเตรียม
1. โมเด็ม จะอยู่ในรูปของการ์ด หรือ อยู่บนบอร์ด (on board) ก็ได้ ถ้าท่านไม่รู้ว่าเป็นแบบไหน
สอบถามจากร้านที่ซื้อคอมพิวเตอร์ และให้ติดตั้งโมเด็มให้เรียบร้อย2. โทรศัพท์สายตรง 1 หมายเลข พร้อมเสียบสายเข้ากับโมเด็มตรงช่อง Line และ เสียบสายอีกเส้นจากโมเด็มตรงช่อง Phone เข้าเครื่องรับโทรศัพท์
สอบถามจากร้านที่ซื้อคอมพิวเตอร์ และให้ติดตั้งโมเด็มให้เรียบร้อย2. โทรศัพท์สายตรง 1 หมายเลข พร้อมเสียบสายเข้ากับโมเด็มตรงช่อง Line และ เสียบสายอีกเส้นจากโมเด็มตรงช่อง Phone เข้าเครื่องรับโทรศัพท์
- เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่ปัญหาอะไรในระหว่างเข้าหน้าจอวินโดว์ๆ จะตรวจเช็คได้ว่ามีฮาร์ดแวร์ตัวใหม่อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ และถามว่าท่านต้องการจะติดตั้งหรือไม่ ให้ติดตั้งโดยติดตั้งไดรว์เวอร์จากไดรว์ A: หรือ ไดรว์ D: หรือที่อื่นๆ เมื่อติดตั้งเสร็จวินโดว์จะถามว่าจะให้ reset เครื่องใหม่หรือไม่ ให้คลิกปุ่ม Yes เสร็จแล้วเครื่องบูตใหม่ถือว่าเป็นเสร็จสิ้นการติดตั้ง
ที่มา : http://www.oocities.org/techno202544/sarawut/internet/internet01.html
การ์ดเสียง (Sound Card)
Sound Card (การ์ดเสียง) คือ อุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลออกมาในรูปแบบเสียงได้ โดยจะทำหน้าที่ควบเรื่องเสียง อย่างเช่น ถ้าวงจรเสียงใช้กับเกมส์ที่เราเล่นจะเกิด เสียงต่าง ๆ หรือสร้างเสียงเอฟเฟคต่าง ๆ เข้าเป็น วงจรเสียงที่ใช้กับดนตรีชนิดต่าง ๆ สำหรับสร้างสรรค์งานเพลงที่เราต้องการให้มีคุณภาพของเสียงที่ดีขึ้นกว่าเดิม โดยคุณภาพเสียงจะขึ้นอยู่กับรุ่นและยี่ห้อของ Sound Card
ความชัดเจนของเสียงจะมีประสิทธิภาพดีเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ อัตราการสุ่มตัวอย่างและความแม่นยำของตัวอย่างที่ได้ ซึ่งความแม่นยำของตัวอย่างนั้นถูกกำหนดโดยความสามารถของ A/D Converter ว่ามีความละเอียดมากน้อยเพียงใด ทำอย่างไรจึงจะประมาณค่าสัญญาณดิจิตอลได้ใกล้เคียงกับสัญญาณเสียงมากที่สุด ความละเอียดของ A/D Converter นั้นถูกกำหนดโดยจำนวนบิตของสัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต เช่น
- A/D Converter 8 Bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 256 ระดับ
- A/D Converter 16 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 65,536 ระดับ
หากจำนวนระดับมากขึ้นจะทำให้ความละเอียดยิ่งสูงขึ้นและการผิดเพี้ยนของสัญญาณเสียงยิ่งน้อยลง นั่นคือ ประสิทธิภาพที่ของเสียงที่ได้รับดีขึ้นนั่นเองแต่จำนวนบิตต่อหนึ่งตัวอย่างจะมากขึ้นด้วย
ความชัดเจนของเสียงจะมีประสิทธิภาพดีเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ อัตราการสุ่มตัวอย่างและความแม่นยำของตัวอย่างที่ได้ ซึ่งความแม่นยำของตัวอย่างนั้นถูกกำหนดโดยความสามารถของ A/D Converter ว่ามีความละเอียดมากน้อยเพียงใด ทำอย่างไรจึงจะประมาณค่าสัญญาณดิจิตอลได้ใกล้เคียงกับสัญญาณเสียงมากที่สุด ความละเอียดของ A/D Converter นั้นถูกกำหนดโดยจำนวนบิตของสัญญาณดิจิตอลเอาต์พุต เช่น
- A/D Converter 8 Bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 256 ระดับ
- A/D Converter 16 bit จะสามารถแสดงค่าที่ต่างกันได้ 65,536 ระดับ
หากจำนวนระดับมากขึ้นจะทำให้ความละเอียดยิ่งสูงขึ้นและการผิดเพี้ยนของสัญญาณเสียงยิ่งน้อยลง นั่นคือ ประสิทธิภาพที่ของเสียงที่ได้รับดีขึ้นนั่นเองแต่จำนวนบิตต่อหนึ่งตัวอย่างจะมากขึ้นด้วย
ชนิดของการ์ดเสียง (Sound Card) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ซึ่งแบ่งชนิดออกตามอดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่
1. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ ISA ซึ่งผลิตออกมานานแล้วจะใช้ร่วมกับเมนบอร์ดรุ่นเก่าที่มีสล็อต ISA ระบบเสียงยังไม่ได้คุณภาพ แต่ก็เป็นการ์ดเสียง ที่ได้รับการนิยมในสมัยอดีด แต่ในปัจจุบันการ์ดเสียงแบบ ISA ไม่มีแล้ว
2. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ PCI เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถสังเคราะห์เสียงได้อย่างมีคุณภาพและมีราคาไม่แพงมากแต่ก็มีราคาแพงในบางรุ่น สามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ
3. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ชนิดของการ์ดเสียง (Sound Card) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท แต่ที่จัด การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ออกเป็นประเภทที่ 3 ก็เพราะว่าการ์ดเสียงแบบนี้เริ่มมีให้เห็นกันมากขึ้น อีกทั้งยังมีการติดตั้งที่แตกต่างจาก การ์ดเสียง (Sound Card) ที่บอกมาข้างต้นด้วย โดยสามารถที่จะติดตั้งโดยผ่านทางพอร์ต USB ทำให้ในการใช้งานนั้นสามารถทำได้ง่ายยิ่งขึ้น

1. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ ISA ซึ่งผลิตออกมานานแล้วจะใช้ร่วมกับเมนบอร์ดรุ่นเก่าที่มีสล็อต ISA ระบบเสียงยังไม่ได้คุณภาพ แต่ก็เป็นการ์ดเสียง ที่ได้รับการนิยมในสมัยอดีด แต่ในปัจจุบันการ์ดเสียงแบบ ISA ไม่มีแล้ว
2. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ PCI เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถสังเคราะห์เสียงได้อย่างมีคุณภาพและมีราคาไม่แพงมากแต่ก็มีราคาแพงในบางรุ่น สามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ
3. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ชนิดของการ์ดเสียง (Sound Card) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท แต่ที่จัด การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ออกเป็นประเภทที่ 3 ก็เพราะว่าการ์ดเสียงแบบนี้เริ่มมีให้เห็นกันมากขึ้น อีกทั้งยังมีการติดตั้งที่แตกต่างจาก การ์ดเสียง (Sound Card) ที่บอกมาข้างต้นด้วย โดยสามารถที่จะติดตั้งโดยผ่านทางพอร์ต USB ทำให้ในการใช้งานนั้นสามารถทำได้ง่ายยิ่งขึ้น
การเลืกซื้อการ์ดเสียง
เลือกให้เหมาะสมกับการใช้งาน เนื่องจาก Sound Card ก็เช่นเดียวกับ อุปกรณ์อื่นๆ ซึ่งมีหลายรุ่นออกมา เพื่อรองรับ กลุ่มลูกค้า และความต้องการ ใช้งานที่หลากหลาย แตกต่างกันไป ดังนั้น เราจึงควรดูว่าระดับ การใช้งานของเรา เป็นเช่นไร หากเลือกซื้อ Sound Card เพื่อไปใช้งาน กับคอมพิวเตอร์ใน office แล้ว เราคงไม่ต้องการ ศักยภาพ ในด้านของการสร้างเสียงแบบ 3 มิติที่ให้ เสียงกระหึ่ม และมีความสมจริง เท่าไหร่นัก นัก แต่ที่ ต้องการนั่นคือ การ์ดเสียงคุณภาพ ปานกลาง ที่สามารถสร้างเสียง ให้เพียงพอ ต่อการฟังเพลง หรือสังเคราะห์เสียง เบื้องต้น เท่านั้น อย่างการ์ด Addonic SV1550 ซึ่งใช้ Chip ของ Yamaha ที่ราคา 715 บาท หรือ Creative SoundBlaster Vibra 128 ที่ราคา 805 บาท หากต้องการ การ์ดเสียง ที่สร้างเสียงให้มีมิติ ที่กว้างและสมจริงเพื่อรองรับ การเล่มเกมส์รุ่นใหม่ๆ แล้ว คงต้องเลือก การ์ดเสียง ที่มีราคา สูงขึ้นมาอีก อย่าง Creative SoundBlaster Live! Value ที่ราคา 2,195 บาท หรือ Diamond Monster Sound MX300 และ MX400 ที่ราคา 3,150 และ 3,350 บาท ตามลำดับ แต่หากต้องการ การ์ดเสียงในระดับ High End ที่รองรับระบบเสียงแบบ Dolby AC-3 คงต้องเป็น Creative SoundBlaster Live Platinum ซึ่งจะให้ความสมจริง มากยิ่งขึ้น แต่ก็คง ต้องแลก ด้วยราคา ที่สูงกว่าเท่าตัว มีข้อแนะนำ เล็กน้อย สำหรับคอเพลง ทั้งหลาย ที่ไม่มุ่งหวัง การเล่นเกมส์ เท่าไหร่นัก กลุ่มผู้ใช้ระดับนี้ ควรเลือกใช้ การ์ดเสียง ระดับปานกลาง จะเหมาะสมกว่า เพราะว่า Card ที่ราคา ไม่ถึงพันบาทนั้น จะสังเคราะห์เสียง ได้ไม่ดี เท่าที่ควร จริงอยู่ ที่ว่า สามารถ เล่นเพลง ในระบบ Stereo ได้ แต่ความไพเราะ หรือความสมจริง ของเส้นเสียง และเครื่องดนตรี จะยังไม่ถึงขั้นมืออาชีพ
บทที่ 6 การ์ดแสดงผล
การ์ดแสดงผล
การ์ดแสดงผล หรือ การ์ดจอ (video card หรือ display card)
เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลเกี่ยวกับการแสดงผลจากหน่วยความจำ มาคำนวณและประมวลผล จากนั้นจึงส่งข้อมูลในรูปแบบสัญญาณเพื่อนำไปแสดงผลยังอุปกรณ์แสดงผลการ์ดแสดงผล เป็นอุปกรณ์หนึ่งที่ทำหน้าทีในการประมวลผลสัญญาณของภาพเพื่อส่งต่อไปยังมอนิเตอร์
เพื่อแสดงภาพ สำหรับการ์ดแสดงผลนี้เป็นจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับบุคคลที่ต้องการภาพที่สมจริงรวมไปถึงคนที่ต้องการเล่นเกมส์
และคนที่ชอบตัดต่อ VDO ส่วนใหญ่แล้ว
ก็จะติดตั้งมาพร้อมเมนบอร์ด แต่คนที่ต้องการจะมีการ์ดแสดงผลแยกตางหากก็สามารถ
เลือกที่ไม่มีติดตั้งก็ได้
ผู้ผลิตการ์ดแสดงผล
AMD
หรือที่ใช้ชื่อว่า ATI Raedonผลิตการ์ดแสดงผล
(Expansionscard)เป็นคู่แข่งกับบริษัทNvidiaทาง Nvidiaมีจุดเด่นที่ส่วนประมวลผล PhysX ซึ่งจะประมวลผลทางฟิสิกส์ เช่นไอน้ำ กระดาษปลิว กระจกแตก
ล้อรถหลุดและกลิ้งไปตามถนนล้มลง มีระบบ Surround
ซึ่งสามารถต่อจอแสดงผลได้ 3 จอแบบเชื่อมต่อกันแต่ต้องใช้การ์ดสองตัวขึ้นไปหรือการ์ดที่มี
GPU คู่ และมีระบบ 3DVisionซึ่งประมวลผลภาพ
3 มิติออกมาได้
ส่วน
AMD มีจุดเด่นที่ระบบ Eyefinityซึ่งสามารถต่อจอแสดงผลได้
3-6 จอแบบเชื่อมต่อกันโดยใช้การ์ดใบเดียว และมีระบบ HD3D
ซึ่งประมวลผลภาพ 3 มิติออกมาได้เช่นเดียวกับ Nvidiaแต่ใช้ระบบที่ไม่ซับซ้อน
การทำงาน
การ์ดแสดงผลสมัยเก่าทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลเป็นสัญญาณเท่านั้น แต่จากกระแสของการ์ดเร่งความเร็วสามมิติ ในช่วงครึ่งหลังของทศวรรษที่ 90 โดยบริษัท 3dfx
และ nVidia ทำให้เทคโนโลยีด้านสามมิติพัฒนาไปมาก
ปัจจุบันการ์ดแสดงผลสมัยใหม่ได้รวมความสามารถในการแสดงผลภาพสามมิติมาไว้เป็นมาตรฐาน
และได้เรียกชื่อใหม่ว่า GPU (Graphic
Processing Unit) โดยสามารถลดงานด้านการแสดงผลของของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
ได้มาก
ในปัจจุบันการ์ดแสดงผลจำนวนมากไม่อยู่ในรูปของการ์ด
แต่จะอยู่เป็นส่วนหนึ่งของแผงเมนบอร์ดซึ่งทำหน้าที่เดียวกัน
วงจรแสดงผลเหล่านี้มักมีความสามารถด้านสามมิติค่อนข้างจำกัด
แต่ก็เหมาะสมกับงานในสำนักงาน เล่นเว็บ อ่านอีเมล เป็นต้น
สำหรับผู้ที่ต้องการความสามารถด้านสามมิติสูง ๆ เช่น ใช้เพื่อเล่นเกมคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ยังอยู่ในรูปของการ์ดที่ต้องเสียบเพิ่มเพื่อให้ได้ภาพเคลื่อนไหวที่เป็นสามมิติที่สมจริง
ในทางกลับกัน การใช้งานบางประเภท เช่น งานทางการแพทย์
กลับต้องการความสามารถการแสดงภาพสองมิติที่สูงแทนที่จะเป็นแบบสามมิติ
เดิมการ์ดแสดงผลแบบสามมิติอยู่แยกกันคนละการ์ดกับการ์ดแบบสองมิติและต้องมีการต่อสายเชื่อมถึงกัน
เช่น การ์ด Voodoo ของบริษัท 3dfxซึ่งปัจจุบันไม่มีแล้ว
ปัจจุบันการ์ดแสดงผลสามมิติมีความสามารถเกี่ยวกับการแสดงผลสองมิติในตัว
ประเภทของการ์ดแสดงผล
การ์ดแสดงผลในปัจจุบันถูกพัฒนาให้มีความสามารถมากขึ้นมีการผลิตการ์ดเพื่องานเฉพาะด้านหลากหลายชนิดโดยการ์ดเหล่านี้จะมีชิปประมวลผลบนตัวการ์ดเพื่อจะช่วยให้งานประมวลผลทางด้านกราฟฟิก3 มิติสามารถทำได้อย่างสมบูรณ์แบบด้วยคุณสมบัติที่หลากหลายของการ์ดแสดงผลในปัจจุบันทำให้ขอบเบตการใช้งานของมันไม่ได้เพียงใช้เล่นเกมส์หรือใช้งานด้านเอกสารเช่นในอดีตที่ผ่านมา
ความสามารถที่มีอยู่ในตัวเครื่องระดับWorkstation ที่ใช้ในงานด้านกราฟฟิกระดับสูงได้ถูกรวมเอาไว้ในการ์ดแสดงผลด้วยทำให้ผู้ที่ต้องการใช้งานด้านกราฟฟิกสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมทั้งนี้การ์ดแสดงผลสามารถแบ่งประเภทได้ตามลักษณะการใช้งานต่าง
ๆดังนี้
1.การ์ดจอแบบ ISA และ VL เป็นการ์ดจอที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่น 386 และ 486 รุ่นแรกๆ การ์ดรุ่นนี้สามารถแสดงสีได้เพียง 256 สีเท่านั้น การ์ดภาพจึงจะไม่สมจริงเท่าไรนัก เพราะขาดสีบางสีไป
2.การ์ดจอแบบ PCI เป็นการ์ดจอที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
486 รุ่นปลายๆ เช่น486DX4-100
และเครื่องระดับเพนเทียม จะมีความเร็วในการแสดงผลสูงกว่าการ์ดจอแบบ ISA
3.การ์ดจอแบบ AGP เป็นการ์ดจอที่แสดงผลได้เร็วที่สุด
เริ่มใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่น ADMK6-II/III K7, Pentium II/III และ Celeron
1. ใช้ในการเอกสารทั่วไปและอินเตอร์เน็ตการใช้คอมพิวเตอร์ทำงานด้านเอกสาร เช่น ชุดโปรแกรมMicrosoft
Office จัดเป็นงานที่ไม่เน้นการแสดงผลด้านกราฟฟิกสูงมากซึ่งสามารถใช้การ์ดแสดงผลระดับขั้นพื้นฐานทั่ว
ๆ ไปก็เพียงพอแล้วสำหรับงานประเภทนี้
ข้อสำคัญก็คือการ์ดแสดงผลที่จะนำมาใช้กับงานด้านนี้ต้องสามารถรองรับความละเอียดสูงพอที่จะดูรายละเอียดของงานด้านเอกสารได้อย่างทั่วถึงในหน้าจอเดียวซึ่งจะทำให้ไม่ต้องเลื่อน
Scrollbar บ่อย ๆ และมีความสามารถในการรองรับ Refresh
Rate สูง ๆ ได้ คุณสมบัคิต่าง
ๆเหล่านี้จะช่วยถนอมสายตาของผู้ใช้งานเมื่อต้องนั่งทำงานอยู่กับหน้าจอเป็นเวลานาน
ๆ
2. ใช้ในงานกราฟฟิก2 มิติ/ตัดต่อภาพวิดีโอการ์ดแสดงผลประเภทนี้ใช้ในงานแสดงภาพเคลื่อนไหวประเภท
2 มิติการตัดต่อวิดีโอ รวมทั้งงานด้านออกแบบตกแต่งภาพ 2 มิติการ์ดประเภทนี้จะต้องมีความสามารถในการประมวลผลที่รวดเร็วและสามารถรองรับการทำงานในโหมด
24 บิต(True Color) และสามารถปรับรายละเอียดของภาพได้
1,024 x 768 เป็นอย่างต่ำส่วนงานด้านการตัดต่อวิดีโอต้องใช้ฮาร์ดแวร์ที่มีคุณสมบัติของ
Video Capture จึงจะสามารถจับสัญญาณจากวิดีโอเข้ามายังคอมพิวเตอร์โดยผ่านช่องสัญญาณ
AV บนตัวการ์ดได้
3. ใช้ในงานออกแบบการฟฟิก 3 มิติ/เขียนแบบ
CAD/CAM เหมาะสำหรับนักออกแบบกราฟฟิก3 มิติ การใช้งานโปรแดรม 3D Studio หรือ
AutoCAD จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการเลือกใช้ Hardware ที่มีคุณสมบัติด้านภาพ 3 มิติอย่างครบครัน
การ์ดสำหรับงานกราฟฟิก3 มิตินี้จะไม่เหมือนกับการ์ด 3
มิติที่ใช้สำหรับการเล่นเกม 3 มิติตรงที่มันสามารถรองรับการทำงานของOpenGl(โอเพนจีแอลOpenGL, เป็นตัวย่อของคำว่า Open
Graphics Library) เป็น) ของบริษัทไมโครซอฟท์) นอกจากการพัฒนาเพื่อวีดีโอเกมโอเพนจีแอลยังใช้ในทางด้านอื่นๆ
รวมถึงการ การประมวลผลภาพงานจำลองการทดลองเชิงวิทยาศาสตร์ และ
การแสดงภาพจำลองในระบบสารสนเทศ
4. ใช้เพื่อเล่นเกมส์3 มิติการแสดงภาพของเกมส์คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันล้วนแล้วเน้นไปทางด้านภาพกราฟฟิก
3 มิติกันมากขึ้นซึ่งต้องอาศัยคุณสมบัติเฉพาะของการ์ดแสดงผลที่ช่วยเร่งความเร็วในการแสดงผลของแต่ละฉากของเกมส์เพื่อให้แต่ละเฟรมลื่นไหลไม่เกิดอาการสะดุดซึ่งการ์ดแสดงผลที่นิยมสำหรับผู้ที่ชื่นชอบการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้แก่
การ์ดตระกูล GeForce ซึ่งมีจุดเด่นในด้านความเร็วและการสนับสนุนทางด้าน
Driver ที่ดีจึงสามารถรองรับการทำงานของเกมส์ได้แทบจะทั้งหมดตัวอย่างรูปภาพของการ์ดแสดงผล
การเลือกซื้อการ์ดแสดงผล

โดยปกติแล้ว
การที่เราจะทราบผลลัพธ์ของการประมวลผล หรือผลลัพธ์ของการทำงานของ CPU ได้นั้น
เรามักจะดูผลลัพธ์ผ่านทางหน้าจอภาพ หรือ Monitor หากเรามองว่าเราสื่อสาร
หรือติดต่อกับทาง Computer ผ่านทาง Keyboard หรือ Mouse แล้ว Monitor นี้
ก็คือที่ทาง Computer ใช้ในการติดต่อกับผู้ใช้นั่นเองและส่วนประกอบอีกส่วนหนึ่ง
ที่ทำงานอยู่เบื้องหลัง ช่วยแปลงสัญญาณจาก Computer ให้กลายเป็นสัญญาณภาพ
ออกทาง Monitor ได้นั้น ก็คือ
การ์ดแสดงผลหรือที่เราเรียกกันติดๆ ปากว่า VGA Card ( หรือ Display
Card หรือ Display Adaptor ) นั่นเอง
ทั้งสองส่วนนี้ รวมแล้ว ก็เรียกได้ว่า เป็น "ระบบการแสดงผล" นั่นเองVGA Card / Display Card
VGA Card นี้ มีหน้าที่หลักๆ คือ จะรับสัญญาณข้อมูล Digital มาจากหน่วยประมวลผลกลาง แล้วจึงทำการแปลงสัญญาณผ่านทางตัวแปลงสัญญาณภาพ หรือ RAMDAC ( RAM Digital-to-Analog Convertor ) ซึ่งเป็นตัวแปลงข้อมูลใน RAM ที่เก็บเป็น Digital ให้เป็นสัญญาณ Analog ส่งต่อไปยังจอ Monitor เพื่อทำการแสดงผลอีกทีหนึ่ง
ส่วนประกอบในการทำงานของ VGA Card นั้น ประกอบด้วยส่วนหลักๆ อยู่ 3 ส่วนที่ควรจะต้องพิจารณาในการเลือกซื้อ คือ
1. ระบบ Bus ที่ใช้ในการติดต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU :
ปัจจุบันนี้ VGA Card ที่เราๆ ใช้กันอยู่ จะมีการติดต่อ ส่งข้อมูลกับหน่วยประมวลผลกลาง ผ่านทางระบบ Bus บน Mainboard อยู่ 2 แบบ คือ ผ่านทาง PCI ( Peripheral Component Interconnect ) กับ AGP ( Accelerated Graphic Port )
ระบบ PCI หรือ Peripheral Component Interconnect ก็เป็น Local Bus อีกแบบหนึ่ง ที่พัฒนาขึ้นโดย Intel ในเดือนกรกฎาคม ปี 1992 โดยที่แยกการควบคุมของระบบบัส กับ CPU ออกจากกันและส่งข้อมูลผ่านกันทางวงจรเชื่อม ( Bridge Circuit ) ซึ่ง จะมี Chipset ที่คอยควบคุมการทำงานของระบบบัสต่างหาก โดยที่ Chipset ที่ควบคุมนี้จะเป็นลักษณะ Processor Independent คือ ไม่ขึ้นกับตัว Processor ( หรือ CPU )
แรกเริ่มที่เปิดตัวนั้น PCI จะเป็นระบบบัสแบบ 32 Bit ที่ทำงานด้วยความเร็ว 33 MHz ซึ่งสามารถให้อัตราเร็วในการส่งผ่านข้อมูลถึง 133 M/s
ต่อมา เมื่อ Intel เปิดตัว CPU ใน Generation ที่ 5 ของตน Intel Pentium ซึ่งเป็น CPU ขนาด 64 Bit ทาง Intel ก็ได้ทำการกำหนดมาตรฐาน ของ PCI เสียใหม่ เป็น PCI 2.0 ในเดือนพฤษภาคม ปี 1993 ซึ่ง PCI 2.0 นี้ก็จะมีความกว้างของเส้นทางข้อมูลถึง 64 Bit ซึ่งหากใช้งานกับ Card 64 Bit แล้ว ก็จะสามารถให้อัตราเร็วในการส่งผ่านที่สูงสุดถึง 266 M/s
จุดเด่นของ PCI ที่เห็นได้ชัด นอกเหนือไปจากข้างต้นก็ยังมีเรื่องของ Bus Mastering ซึ่ง PCI นั้น ก็สามารถทำได้เช่นเดียวกับ EISA และ MCA แล้ว Chipset ที่ใช้เป็นตัวควบคุมการทำงาน ก็ยังสนับสนุนระบบ ISA และ EISA อีกด้วย ซึ่งก็สามารถทำให้ผลิต Mainboard ที่มีทั้ง Slot ISA , EISA และ PCI รวมกันได้ นอกจากนั้น ยังสนับสนุนระบบ Plug-and-Play อีกด้วย (เป็นมาตรฐานที่พัฒนาในปี 1992 ที่กำหนดให้ Card แบบ Plug-and-Play นี้ จะไม่มี Dipswitch หรือ Jumper เลย ทุกอย่าง ทั้ง IRQ, DMA หรือ Port จะถูกกำหนดไว้แล้วแต่เราก็สามารถเลือก หรือ เปลี่ยนแปลงได้จาก Software )
ในกลางปี 1996 เมื่อ Intel ได้ทำการเปิดตัว Intel Pentium II ซึ่งพร้อมกันนั้นก็ได้ทำการเปิดตัวสถาปัตยกรรมที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยแสดงผลด้วย นั่นก็คือ Accelerated Graphics Port หรือ AGP ซึ่งก็ได้เปิดตัว Chipset ที่สนับสนุนการทำงานนี้ด้วย คือ 440LX ( ซึ่งแน่นอน Chipset ที่ออกมาหลังจากนี้ ก็จะสนับสนุนการทำงานของ AGP ด้วย )
AGP นั้นจะมีการเชื่อมต่อกับ Chipset ของระบบแบบ Point-to-Point ซึ่งจะช่วยให้การส่งผ่านข้อมูลระหว่าง Card AGP กับ Chipset ของระบบได้เร็วขึ้นและยังมีเส้นทางเฉพาะ สำหรับติดต่อกับหน่วยความจำหลักของระบบ เพื่อใช้ทำการ Render ภาพ แบบ 3D ได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย
จากเดิม Card แสดงผล แบบ PCI นั้น จะมีปัญหาเรื่องของหน่วยความจำบน Card เพราะเมื่อต้องการใช้งานด้านการ Render ภาพ 3 มิติ ที่มีขนาดใหญ่มากๆก็จำเป็นต้องมีการใช้หน่วยความจำบน Card นั้นมากๆ เพื่อรองรับขนาดของพื้นผิว ( Texture ) ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของงาน Render แน่นอน เมื่อหน่วย ความจำมากๆราคาก็ยิ่งแพง ดังนั้น ทาง Intel จึงได้ทำการคิดค้นสถาปัตยกรรมใหม่เพื่องานด้าน Graphics นี้ โดยเฉพาะ AGP จึงได้ถือกำเนิดขึ้นมาAGP นั้นจะมี mode ในการ Render อยู่ 2 แบบ คือ Local Texturing และ AGP Texturing โดยที่ Local Texturing นั้น จะทำการ copy หน่วยความจำ ของระบบไปเก็บไว้ที่เฟรมบัฟเฟอร์ของ Card ( ซึ่งกำลังจะกล่าวถึงในหัวข้อย่อยถัดไป )
จากนั้นจึงทำการประมวลผลโดยดึงข้อมูลจากเฟรมบัฟเฟอร์บน Card นั้นอีกทีซึ่งวิธีการนี้ ก็เป็นวิธีการที่ใช้บนระบบ PCI ด้วยวิธีนี้จะพึ่งขนาดของหน่วยความจำบน Card มาก
AGP Texturing นั้นเป็นเทคนิคใหม่ ที่ช่วยลดปริมาณของหน่วยความจำ หรือ เฟรมบัฟเฟอร์บน Display Card ลงได้มาก เพราะสามารถทำการใช้งาน หน่วยความจำของระบบให้เป็นเฟรมบัฟเฟอร์ได้เลยโดยไม่ต้องดึงข้อมูลมาพักไว้ที่เฟรมบัฟเฟอร์ของ Card ก่อน
โดยปกติแล้ว AGP จะทำงานที่ความเร็ว 66 MHz ซึ่งแม้ว่าระบบจะใช้ FSB เป็น 100 MHz แต่มันก็จะยังคงทำงานที่ 66 MHz ( ซึ่งตรงจุดนี้ Mainboard บางรุ่น บางยี่ห้อสามารถปรับแต่งค่านี้ได้ แต่ ทั้งนี้ และ ทั้งนั้น ก็ควรคำนึงถึงขีดจำกัดของ Card และ อุปกรณ์อื่นๆ ด้วย ) ซึ่ง ใน mode ปกติของมัน ก็จะมีความสามารถแทบจะเหมือน กับ PCI แบบ 66 MHz เลย โดยจะมีอัตราการส่งข้อมูลที่สูงถึง 266 Mbps และนอกจากนี้ยังสามารถทำงานได้ทั้งขอบขาขึ้นและขอบขาลงของ 66 Mhzจึงเท่ากับว่ามันทำงานที่ 133 MHz ซึ่งจะช่วยเพิ่มอัตราการส่งถ่ายข้อมูลขึ้นได้สูงถึง 533 Mbps ( แน่นอนว่าทั้ง Card ที่ใช้ และ Chipset ที่ใช้ ต้องสนับสนุนการทำงานแบบนี้ด้วย ) ซึ่งเรียก mode นี้ว่า mode 2X และ mode ปกติว่าเป็น mode 1X
|
การที่ผู้ใช้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ
ปรากฏบนจอภาพได้นั้น เป็นเพราะฮาร์ดแวร์อีกตัวหนึ่งที่ทำงาน ควบคู่กับจอภาพเรียกว่า
การ์ดสำหรับแสดง
จำนวนสีที่สามารถแสดงบนจอภาพได้นั้นเป็นตัวกำหนดว่าภาพบนจอจะมีสีสรรสมจริงเพียงใดโดยจอ VGA (Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 640X480 พิกเซล จอ SVGA
(Super Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 800X600
พิกเซลจอภาพในปัจจุบันเกือบทั้งหมดใช้จอระดับนี้แล้วจอภาพที่
แสดงจำนวนสี 65,536 หรือ 16 บิตสี
จะแสดงความสมจริงได้ดีพอสมควร เหมาะสำหรับงานการฟฟิก มัลติมีเดียและสิ่งพิมพ์
ส่วนจอภาพที่แสดงจำนวนสี 16,777,216สีจะให้สีสมจริงตามธรรมชาติสีระดับนี้เหมาะสำหรับงาน
ตกแต่งภาพและงานสิ่งพิมพ์ระดับสูง
|
|
|
ผลจอภาพ (Display Adapter Card) เป็นวงจรภายใน
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานร่วมกับจอภาพสำหรับปัจจุบันนี้ มอนิเตอร์ LCD นั้นใช้กันอย่างแพร่หลายในฐานะที่เป็นมอนิเตอร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์
แบบพกพาต่างๆไม่ว่าจะเป็น โน้ตบุ๊ค และ PDA (พวกเครื่องปาล์ม)รวมไปถึงก้าวมามีบทบาทแทนที่มอนิเตอร์แบบ
CRT (Cathode-ray tube)ของเครื่องตั้งโต๊ะที่เคยใช้กันแล้ว ในปัจจุบันแบ่งออกได้เป็นสองแบบใหญ่ๆก็คือ
Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN)
Thin Flim Transistor (TFT)
CRT (Cathode-ray tube)ของเครื่องตั้งโต๊ะที่เคยใช้กันแล้ว ในปัจจุบันแบ่งออกได้เป็นสองแบบใหญ่ๆก็คือ
Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN)
Thin Flim Transistor (TFT)
จอ LCD แบบ TFT หรือ Thin Film Transistor นั้นถูกพัฒนาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ของ จอ LCD แบบ DSTN
โดยเป็นแบบ Active Matrix ทำให้มีการตอบสนอง
ต่อการเปลี่ยนแปลงของภาพที่เร็ว และมีความคมชัดขึ้น รวมทั้งมอนิเตอร์แบบ
TFTจะมีรูปร่างบางกว่า มอนิเตอร์แบบ LCDปกติ
จึงทำให้มันมีน้ำหนักเบากว่าและอัตรารีเฟรชของภาพก็ใกล้เคียง กับมอนิเตอร์แบบCRT
เนื่องจากว่ากระแสไฟฟ้านั่นวิ่งเร็วกว่าจอ LCD แบบ DSTN
ประเภทของจอภาพ
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1.1
จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube)
1.2
จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display)
1.1 จอภาพแบบ CRT
(Cathode Ray Tube)คือ
หลอดภาพที่ใช้กันมาตั้งแต่ยุค
แรกๆ มีลักษณะคล้าย TV กินไฟมากและมีไฟแรงสูงเป็นหมื่นโวลต์
สำหรับควบคุม
อิเล็กตรอนในการทำให้เกิดภาพ จอCRT สามารถแบ่งออกตามสีที่แสดงออกมาบน
หน้าจอได้สองแบบคือ จอภาพสีเดียว(Monochrome) และจอภาพสี(Color)
1.1.1
จอภาพสีเดียว(Monochrome) หมายถึงจอภาพที่มีสีพื้นเป็นสีดำและ
แสดงตัวอักษรออกมาเพียงสีเดียว สีที่พบเห็นทั่วๆ
ไป คือ สีขาว สีเขียว สีส้ม เป็นต้น
1.1.2
จอภาพสี (Color) เป็นจอภาพที่แสดงสีได้หลายสีเหมาะกับงานด้าน
กราฟฟิกและมัลติมีเดีย
1.2 จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal
Display)จอภาพแบบแอลซีดีซึ่งมี
ลักษณะแบนราบจะมีขนาดเล็ก และบาง
เมื่อเปรียบเทียบกับจอภาพแบบซีแอลที
หากจอภาพแบบแอกตีฟแมทริกซ์สามารถพัฒนาให้มีขนาดใหญ่กว่า 15 นิ้วได้
การนำมาใช้แทนจอภาพซีอาร์ทีก็จะมีหนทางมากขึ้น
ความสำเร็จของจอภาพแอลซีดีที่จะเข้ามาแข่งขันกับจอภาพแบบซีอาร์ที
อยู่ในเงื่อนไขสองประการคือ
1. จอภาพแอลซีดีมีราคาแพงกว่าจอภาพซีอาร์ที และมีขนาดจำกัดใน
อนาคตและมีโน้มด้านราคาของจอภาพแอลซีดีจะลดลงได้อีกมาก
2. เทคโนโลยีสำหรับอนาคตมีโอกาสเป็นไปได้สูงมากที่จะทำให้จอภาพ
แอลซีดีขนาดใหญ่
วิธีพิจารณาในการเลือกซื้อจอภาพ
จอธรรมดาหรือจอกระจก
เรื่อง ของหน้าจอแสดงผลถือเป็นอีกส่วนหนึ่งที่หลายคนนำมาใช้ในการเลือกซื้อ
จอ LED ด้วยเช่น กันซึ่งปัจจุบันมีให้เลือกทั้งแบบจอแบบเคลือบเงา หรือที่เรียกว่า
“จอกระจก” จอแบบดังกล่าวนี้
มีคุณสมบัติ ที่ดีในการชมภาพยนตร์ และเล่นเกมเนื่องจากให้สีสันที่สดใส
และแสงที่สว่าง จึงมักได้รับความนิยมหมู่คนที่ชอบความบันเทิงเป็นหลัก
แต่ราคาก็ต้องสูงขึ้นไปด้วยอย่างแน่นอน ส่วนอีกแบบหนึ่งเป็นจอธรรมดา
คุณสมบัติที่ดีอยู่ที่การให้ความคมชัดที่สูงไม่เน้นที่ความสว่างมากนักจึงเหมาะกับผู้ที่ใช้
งานอยู่หน้าจอเป็นเวลานาน ๆนอกจากนี้ยังไม่มีการสะท้อนรบกวนของแสงเช่นเดียวกับจอกระจกอีกทั้งจอแบบดังกล่าวยังมีราคาที่ไม่สูงอีกด้วย
ทั้งสองแบบนี้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไปส่วนการจะเลือกแบบใดนั้นให้ดูที่ความต้องการใช้งานในชีวิตประจำวันเป็นหลัก
1. รูปลักษณ์และความสวยงาม
หลายครั้งที่เรามักจะให้ความรู้สึกในเรื่องรูปลักษณ์เหนือกว่าประสิทธิภาพที่จะได้รับ เช่นเดียวกับจอแอลอีดีก็เช่นกันที่ผู้ใช้มักจะเอาความสวยงามมาเป็นตัวเปรียบเทียบ แต่ก็ไม่ได้เป็นเรื่องที่ผิดเสียทีเดียว เพราะเรื่องของดีไซน์ก็เป็นสิ่งที่สำคัญเช่นกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ต้องสัมผัส และพบเจอในการใช้งานอยู่ทุกวัน หากไม่สวยโดนใจหรือไม่เข้ากับเฟอร์นิเจอร์ในบ้านมันก็คงดูขัดตา
นอกจากนี้เรื่องของการออกแบบก็ยังรวมไปถึงฟังก์ชัน สำหรับการใช้งานต่าง ๆเช่นผู้ที่นำไปใช้ใน การพรีเซนเทชั่นอาจเลือกเป็นจอที่ปรับมุมมองซ้าย - ขวาหรือก้มเงยได้สะดวก หรือบางคนอาจต้องการ ขนาดที่บางเพื่อที่จะจัดวางหรือเคลื่อนย้ายไปมาได้สะดวกยิ่งขึ้น ซึ่งบางครั้งด้านขอบจอที่บางก็ทำให้หลายคนชอบเช่นกัน ในกรณีที่ใช้จอสองตัวในการเล่นเกม หรือทำงานกราฟิกซึ่งถ้าเป็นรูปแบบเหล่านี้ ก็นำมาใช้ในการพิจารณาได้ดี
2. ความละเอียด (Resolution)
คงเคยเห็นบ่อย ๆ สำหรับ Resolution ที่มักจะต่อท้ายรายละเอียดของรุ่นต่าง ๆ ของจอแอลอีดีจะได้รู้กันละครับว่าปกติแล้ว Resolution ของจอแอลซีดีปกติแล้วมีความละเอียดเท่าไหร่ ความละเอียดส่วนใหญ่ถูกกำหนดด้วยขนาดของจออยู่แล้ว เช่น จอขนาดเล็ก 15 นิ้ว ก็จะให้ความละเอียดที่ 1024x768 แต่ถ้า เป็น 18.5 นิ้ว จะอยู่ที่ 1600x900 และ 21.5 นิ้วขึ้นไป 1920x1080 ซึ่งการจะเลือกใช้ ก็ขึ้นอยู่กับรูปแบบในการทำงานไม่ว่าจะเป็นการเล่นเกมชมภาพยนตร์งานเอกสาร ตัดต่อ กราฟิกก็ล้นแต่มีข้อกำหนดที่แตกต่างกันออกไป
3. Response Time สำคัญเพียงใด
เป็นอัตราความเร็วในการตอบสนองของเม็ดสีในการเปลี่ยนสีจากดำมาเป็นขาวแล้วกลับเป็นดำ (B/W) หรือบางครั้งอาจเป็นจากสีเทามาเป็นเทา (G/G) โดยการบอกเวลาเป็นวินาทีซึ่งตัวเลขยิ่งน้อย ก็จะส่งผลให้การแสดงภาพมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น หากตัวเลขมากหรือช้าอาจเกิดอาการที่เรียกว่า ภาพซ้อน หรือ Ghost เกิดขึ้นจนทำให้การเล่นเกมหรือการชมภาพยนตร์เสียอรรถรสไป ดังนั้นการเลือกซื้อปัจจุบันควรจะอยู่ที่ 2-8 ms
4. Contrast Ratio
ค่า Contrast Ratio เป็นค่าที่นำมาใช้ในการวัดอัตราส่วนของความสว่าง และความมืดว่ามีมากน้อย เพียงใด ซึ่งจะส่งผลต่อความคมชัด สมจริงที่เกิดขึ้นในภาวะแสงต่าง ๆการเลือกให้ดูตัวเลขที่สูงเป็นหลัก โดยปัจจุบันมีให้เลือกตั้งแต่ 12,000,000 : 1ไปจนถึงบางค่ายมีให้เลือกถึง 100,000,000 : 1 ซึ่งก็แล้ว แต่การวัดว่าเป็นแบบ Dynamic หรือ Mega
5. พอร์ต D-Sub DVI, HDMI
ในส่วนของพอร์ตแสดงผล หากเป็นไปได้ควรเลือกจอที่มีพอร์ตแบบ DVI มาให้หรือมี 2 แบบคือ ทั้ง D-Sub และ DVI เนื่องจากปัจจุบันแม้ว่าการแสดงผลจะยังมีพอร์ต D-Sub ให้ใช้อยู่ก็ตาม แต่แนวโน้มในไม่ช้ากราฟิกการ์ดจอรุ่นใหม่ ๆ ที่ออกมานั้น จะมีแต่พอร์ตที่เป็น DVI เป็นส่วนใหญ่ครับซึ่งการ์ดหลายรุ่นจะเป็น แบบ Dual DVI อีกด้วยจึงไม่จำเป็นต้องหาตัวแปลงสัญญาณมาใช้นอกจากนี้ DVI ยังให้สัญญาณที่นิ่งกว่าเนื่องจากไม่ต้องแปลงจากดิจิตอลเป็นอะนาล็อกไปมาอีกด้วย HDMI จะมีสัญญาณทั้งภาพและเสียงออกมาพร้อมกัน HDMI จะเสถียรกว่า DVI
6. วิธีการเช็ค Dead Pixels และการรับประกัน Dead Pixels คือ จุดสีดำ Bright คือ จุดสี
การตรวจสอบ Dead หรือ Dot Pixel ก็ไม่ได้ยุ่งยากแต่อย่างใด ส่วนใหญ่ทางร้านจะมีการทดสอบให้ อยู่แล้วถ้าไม่มีโปรแกรมสำหรับการตรวจสอบโดยตรง อาจใช้วิธีเบื้องต้นในการทดสอบง่าย ๆโดยเปลี่ยน สีหน้าจอเดสก์ทอปให้เป็นสีขาว เหลือง แดง น้ำเงิน และดำทีละสีแล้วกวาดสายตาไปให้ทั่ว ๆ จนแน่ใจว่า ไม่มีจุดสีที่แปลกเด่นขึ้นมาทำไปเรื่อยๆ ไม่ต้องรีบร้อน หลังจากนั้นให้ปรับค่า Default ของหน้าจอให้เป็น แบบมาตรฐานดูว่ามีสิ่งใดผิดปกติเกิดขึ้นหรือไม่ เช่น ขอบของจอผิดเพี้ยนความสว่างไม่เท่ากันหรืออื่น ๆ ส่วนใหญ่จะมี 4 จุดขึ้นไปถึงจะเปลี่ยนให้ยกเว้นบางแบรนด์1 จุด จะเปลี่ยนให้ เงื่อนไขให้สอบถามทางร้านที่ซื้ออีกทีนึง
1. รูปลักษณ์และความสวยงาม
หลายครั้งที่เรามักจะให้ความรู้สึกในเรื่องรูปลักษณ์เหนือกว่าประสิทธิภาพที่จะได้รับ เช่นเดียวกับจอแอลอีดีก็เช่นกันที่ผู้ใช้มักจะเอาความสวยงามมาเป็นตัวเปรียบเทียบ แต่ก็ไม่ได้เป็นเรื่องที่ผิดเสียทีเดียว เพราะเรื่องของดีไซน์ก็เป็นสิ่งที่สำคัญเช่นกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ต้องสัมผัส และพบเจอในการใช้งานอยู่ทุกวัน หากไม่สวยโดนใจหรือไม่เข้ากับเฟอร์นิเจอร์ในบ้านมันก็คงดูขัดตา
นอกจากนี้เรื่องของการออกแบบก็ยังรวมไปถึงฟังก์ชัน สำหรับการใช้งานต่าง ๆเช่นผู้ที่นำไปใช้ใน การพรีเซนเทชั่นอาจเลือกเป็นจอที่ปรับมุมมองซ้าย - ขวาหรือก้มเงยได้สะดวก หรือบางคนอาจต้องการ ขนาดที่บางเพื่อที่จะจัดวางหรือเคลื่อนย้ายไปมาได้สะดวกยิ่งขึ้น ซึ่งบางครั้งด้านขอบจอที่บางก็ทำให้หลายคนชอบเช่นกัน ในกรณีที่ใช้จอสองตัวในการเล่นเกม หรือทำงานกราฟิกซึ่งถ้าเป็นรูปแบบเหล่านี้ ก็นำมาใช้ในการพิจารณาได้ดี
2. ความละเอียด (Resolution)
คงเคยเห็นบ่อย ๆ สำหรับ Resolution ที่มักจะต่อท้ายรายละเอียดของรุ่นต่าง ๆ ของจอแอลอีดีจะได้รู้กันละครับว่าปกติแล้ว Resolution ของจอแอลซีดีปกติแล้วมีความละเอียดเท่าไหร่ ความละเอียดส่วนใหญ่ถูกกำหนดด้วยขนาดของจออยู่แล้ว เช่น จอขนาดเล็ก 15 นิ้ว ก็จะให้ความละเอียดที่ 1024x768 แต่ถ้า เป็น 18.5 นิ้ว จะอยู่ที่ 1600x900 และ 21.5 นิ้วขึ้นไป 1920x1080 ซึ่งการจะเลือกใช้ ก็ขึ้นอยู่กับรูปแบบในการทำงานไม่ว่าจะเป็นการเล่นเกมชมภาพยนตร์งานเอกสาร ตัดต่อ กราฟิกก็ล้นแต่มีข้อกำหนดที่แตกต่างกันออกไป
3. Response Time สำคัญเพียงใด
เป็นอัตราความเร็วในการตอบสนองของเม็ดสีในการเปลี่ยนสีจากดำมาเป็นขาวแล้วกลับเป็นดำ (B/W) หรือบางครั้งอาจเป็นจากสีเทามาเป็นเทา (G/G) โดยการบอกเวลาเป็นวินาทีซึ่งตัวเลขยิ่งน้อย ก็จะส่งผลให้การแสดงภาพมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น หากตัวเลขมากหรือช้าอาจเกิดอาการที่เรียกว่า ภาพซ้อน หรือ Ghost เกิดขึ้นจนทำให้การเล่นเกมหรือการชมภาพยนตร์เสียอรรถรสไป ดังนั้นการเลือกซื้อปัจจุบันควรจะอยู่ที่ 2-8 ms
4. Contrast Ratio
ค่า Contrast Ratio เป็นค่าที่นำมาใช้ในการวัดอัตราส่วนของความสว่าง และความมืดว่ามีมากน้อย เพียงใด ซึ่งจะส่งผลต่อความคมชัด สมจริงที่เกิดขึ้นในภาวะแสงต่าง ๆการเลือกให้ดูตัวเลขที่สูงเป็นหลัก โดยปัจจุบันมีให้เลือกตั้งแต่ 12,000,000 : 1ไปจนถึงบางค่ายมีให้เลือกถึง 100,000,000 : 1 ซึ่งก็แล้ว แต่การวัดว่าเป็นแบบ Dynamic หรือ Mega
5. พอร์ต D-Sub DVI, HDMI
ในส่วนของพอร์ตแสดงผล หากเป็นไปได้ควรเลือกจอที่มีพอร์ตแบบ DVI มาให้หรือมี 2 แบบคือ ทั้ง D-Sub และ DVI เนื่องจากปัจจุบันแม้ว่าการแสดงผลจะยังมีพอร์ต D-Sub ให้ใช้อยู่ก็ตาม แต่แนวโน้มในไม่ช้ากราฟิกการ์ดจอรุ่นใหม่ ๆ ที่ออกมานั้น จะมีแต่พอร์ตที่เป็น DVI เป็นส่วนใหญ่ครับซึ่งการ์ดหลายรุ่นจะเป็น แบบ Dual DVI อีกด้วยจึงไม่จำเป็นต้องหาตัวแปลงสัญญาณมาใช้นอกจากนี้ DVI ยังให้สัญญาณที่นิ่งกว่าเนื่องจากไม่ต้องแปลงจากดิจิตอลเป็นอะนาล็อกไปมาอีกด้วย HDMI จะมีสัญญาณทั้งภาพและเสียงออกมาพร้อมกัน HDMI จะเสถียรกว่า DVI
6. วิธีการเช็ค Dead Pixels และการรับประกัน Dead Pixels คือ จุดสีดำ Bright คือ จุดสี
การตรวจสอบ Dead หรือ Dot Pixel ก็ไม่ได้ยุ่งยากแต่อย่างใด ส่วนใหญ่ทางร้านจะมีการทดสอบให้ อยู่แล้วถ้าไม่มีโปรแกรมสำหรับการตรวจสอบโดยตรง อาจใช้วิธีเบื้องต้นในการทดสอบง่าย ๆโดยเปลี่ยน สีหน้าจอเดสก์ทอปให้เป็นสีขาว เหลือง แดง น้ำเงิน และดำทีละสีแล้วกวาดสายตาไปให้ทั่ว ๆ จนแน่ใจว่า ไม่มีจุดสีที่แปลกเด่นขึ้นมาทำไปเรื่อยๆ ไม่ต้องรีบร้อน หลังจากนั้นให้ปรับค่า Default ของหน้าจอให้เป็น แบบมาตรฐานดูว่ามีสิ่งใดผิดปกติเกิดขึ้นหรือไม่ เช่น ขอบของจอผิดเพี้ยนความสว่างไม่เท่ากันหรืออื่น ๆ ส่วนใหญ่จะมี 4 จุดขึ้นไปถึงจะเปลี่ยนให้ยกเว้นบางแบรนด์1 จุด จะเปลี่ยนให้ เงื่อนไขให้สอบถามทางร้านที่ซื้ออีกทีนึง
วันจันทร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2557
บทที่ 5 ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/
|
Hard Disk คือ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลได้มาก สามารถเก็บได้อย่างถาวรโดยไม่จำเป็นต้องมีไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยงตลอดเวลา เมื่อปิดเครื่องข้อมูลก็จะไม่สูญหาย ดังนั้น Hard Disk จึงถูกจัดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บระบบปฏิบัติการ โปรแกรม และข้อมูลต่าง ๆ เนื่องจาก Hard Disk เป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการอัพเกรดทำให้เทคโนโลยี Hard Disk ในปัจจุบันได้พัฒนาอย่างรวดเร็ว ฉะนั้นการเลือกซื้อ Hard Disk จึงควรคำนึงซึ่งประสิทธิภาพที่จะได้รับจาก Hard Disk |
ส่วนประกอบของ Hard Disk |
1. แขนของหัวอ่าน ( Actuator Arm ) ทำงานร่วมกับ Stepping Motor ในการหมุนแขนของหัวอ่านไปยังตำแหน่งที่เหมาะสม สำหรับการอ่านเขียนข้อมูล โดยมีคอนโทรลเลอร์ ทำหน้าที่แปลคำสั่งที่มาจากคอมพิวเตอร์ จากนั้นก็เลื่อนหัวอ่านไปยังตำแหน่งที่ต้องการ เพื่ออ่านหรือเขียนข้อมูล และใช้หัวอ่านในการอ่านข้อมูล ต่อมา Stepping Motor ได้ถูกแทนด้วยVoice Coil ที่สามารถทำงานได้เร็ว และแม่นยำกว่า Stepping Motor 2 . หัวอ่าน ( Head ) เป็นส่วนที่ใช้ในการอ่านเขียนข้อมูล ภายในหัวอ่านมีลักษณะเป็น ขดลวด โดยในการอ่านเขียนข้อมูลคอนโทรลเลอร์ จะนำคำสั่งที่ได้รับมาแปลงเป็นแรงดันไฟฟ้าแล้วป้อนเข้าสู่ขดลวดทำให้เกิดการเหนี่ยวนำทางแม่เหล็ก ไปเปลี่ยนโครงสร้างของสารแม่เหล็ก ที่ฉาบบนแผ่นดิสก์ จึงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลขึ้น 3. แผ่นจานแม่เหล็ก ( Platters ) มีลักษณะเป็นจานเหล็กกลมๆ ที่เคลือบสารแม่เหล็กวางซ้อนกันหลายๆชั้น (ขึ้นอยู่กับความจุ) และสารแม่เหล็กที่ว่าจะถูกเหนี่ยวนำให้มีสภาวะเป็น 0 และ1 เพื่อจัดเก็บข้อมูล โดยจานแม่เหล็กนี้จะติดกับมอเตอร์ ที่ทำหน้าที่หมุน แผ่นจานเหล็กนี้ ปกติ Hard Disk แต่ละตัวจะมีแผ่นดิสก์ประมาณ 1-4 แผ่นแต่ละแผ่นก็จะเก็บข้อมูลได้ทั้ง2 ด้าน 4. มอเตอร์หมุนจานแม่เหล็ก ( Spindle Moter ) เป็นมอเตอร์ที่ใช้หมุนของแผ่นแม่เหล็ก ซึ่งมีความสำคัญอย่างมากต่อความเร็วใน การหมุน ของ Hard Disk เพราะยิ่งมอเตอร์หมุนเร็วหัวอ่านก็จะเจอข้อมูลที่ต้องการเร็วขึ้น ซึ่งความเร็วที่ว่านี้จะวัดกันเป็นรอบต่อนาที ( Rovolution Per Minute หรือย่อว่า RPM ) ถ้าเป็น Hard Disk รุ่นเก่าจะหมุนด้วยความเร็วเพียง3,600รอบต่อนาที ต่อมาพัฒนาเป็น 7,200รอบต่อนาที และปัจจุบันหมุนได้เร็วถึง 10,000รอบต่อนาที การพัฒนาให้ Hard Disk หมุนเร็วจะได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น 5. เคส ( Case ) มีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม ใช้บรรจุกลไกต่างๆ ภายในแผ่นดิสก์เพื่อป้องกันความเสียหาย ที่เกิดจากการหยิบ จับ และป้องกันฝุ่นละออง |
ชนิดของ Hard Disk แบ่งตามการเชื่อมต่อ (Interface)
|
1. แบบ IDE (Integrate Drive Electronics)
Hard Disk แบบ IDE เป็นอินเทอร์เฟซรุ่นเก่า ที่มีการเชื่อมต่อโดยใช้สายแพขนาด 40 เส้น โดยสายแพ 1 เส้นสามารถที่จะต่อ Hard Disk ได้ 2 ตัว บนเมนบอร์ดนั้นจะมีขั้วต่อ IDE อยู่ 2 ขั้วด้วยกัน ทำให้สามารถพ่วงต่อ Hard Disk ได้สูงสุด 4 ตัว ความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 8.3 เมกะไบต์/ วินาที สำหรับขนาดความจุก็ยังน้อยอีกด้วย เพียงแค่504 MBรูปแสดง Slot IDE บนแผงวงจร Mainboard
2. แบบ E-IDE (Enhanced Integrated Drive Electronics)
Hard Disk แบบ E-IDE พัฒนามาจากประเภท IDE ด้วยสายแพขนาด 80 เส้น ผ่านคอนเน็คเตอร์ 40 ขาเช่นเดียวกันกับ IDE ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพ ในการทำงานให้มากขึ้น โดย Hard Disk ที่ทำงานแบบ E-IDE นั้นจะมีขนาดความจุที่สูงกว่า504 MB และความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลที่สูงขึ้น โดยสูงถึง 133 เมกะไบต์/ วินาที
วิธีการรับส่งข้อมูลของ Hard Disk แบบ E-IDE แบ่งออกเป็น 2 โหมด คือ PIO และ DMA
โหมด PIO (Programmed Input Output) เป็นการรับส่งข้อมูลโดยผ่านการประมวลผลของซีพียู คือรับข้อมูลจากHard Disk เข้ามายังซีพียู หรือส่งข้อมูลจากซีพียูไปยัง Hard Disk การทำงานในโหมดนี้จะเน้นการทำงานกับซีพียู ดังนั้นจึงไม่เหมาะกับงานที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลใน Hard Disk บ่อยครั้งหรือการทำงานหลาย ๆ งานพร้อมกันในเวลาเดียวที่เรียกว่าMultitasking environment โหมด DMA (Direct Memory Access) จะอนุญาตให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ส่งผ่านข้อมูลหรือติดต่อไปยังหน่วยความจำหลัก (RAM) ได้โดยตรงโดยไม่ต้องติดต่อไปที่ซีพียูก่อนเหมือนกระบวนการทำงานปกติ ทำให้ซีพียูจัดการงานได้รวดเร็วขึ้น
3. แบบ SCSI (Small Computer System Interface)
Hard Disk แบบ SCSI เป็น Hard Disk ที่มีอินเทอร์เฟซที่แตกต่างจาก E-IDE โดย Hard Disk แบบ SCSI จะมีการ์ดสำหรับควบคุมการทำงาน โดยเฉพาะ เรียกว่า การ์ด SCSI สำหรับการ์ด SCSI นี้ สามารถที่จะควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ที่มีการทำงานแบบ SCSI ได้ถึง 7 ชิ้นอุปกรณ์ ผ่านสายแพรแบบ SCSI อัตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลของ แบบ SCSIมีความเร็วสูงสุด 320 เมกะไบต์/วินาที กำลังรอบในการหมุนของจานดิสก์ปัจจุบันแบ่งเป็น 10,000 และ 15,000 รอบต่อนาที ซึ่งมีความเร็วที่มากกว่าประเภท E-IDE ดังนั้น Hard Disk แบบ SCSI จะนำมาใช้กับงานด้านเครือข่าย (Server) เท่านั้น
รูปแสดง อุปกรณ์ Hard Disk ที่เป็น SCSI
4. แบบ Serial ATA
เป็นอินเทอร์เฟซที่กำลังได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน เมื่อการเชื่อมต่อในลักษณะParallel ATA หรือ E-IDE เจอทางตันในเรื่องของความเร็วที่มีความเร็วเพียง 133 เมกะไบต์/วินาทีส่วนเทคโนโลยีเชื่อมต่อรูปแบบแบบใหม่ที่เรียกว่า Serial ATA ให้อัตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลขั้นแรกสูงสุดถึง 150 เมกะไบต์/วินาที โดยเทคโนโลยี Serial ATA นี้ถูกคาดหวังว่าจะสามารถ ขยายช่องสัญญาณ (Bandwidth) ในการส่งผ่านข้อมูลได้เพิ่มขึ้นถึง 2-3 เท่า และยังรองรับข้อมูลได้มากยิ่งขึ้น ไม่เฉพาะ Hard Disk เพียงเท่านั้นที่จะมีการเชื่อมต่อในรูปแบบนี้ แต่ยังรวมไปถึง อุปกรณ์ตัวอื่น ๆ อย่าง CD-RW หรือDVD อีกด้วยรูปแสดง สายสัญญาณแบบ Serial ATA ด้วยการพัฒนาของ Serial ATA ทำให้ลดปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการส่งผ่านข้อมูลระหว่าง CPU ความเร็วสูงกับตัวHard Disk ลงได้ ในอนาคต Serial ATA ยังแตกต่างจาก Hard Drive ที่ใช้อินเทอร์เฟซ Parallel ATA ซึ่งเป็นแบบขนาน เพราะอินเทอร์เฟซ Serial ATA นี้ มีการกำหนดให้ Hard Drive ตัวไหนเป็น Master (ตัวหลัก) หรือ Slave (ตัวรอง) ผ่านช่องเชื่อมต่อบนเมนบอร์ดโดยตรง สามารถลดความยุ่งยากในการติดตั้งลงไป อีกทั้ง Hard Disk ประเภทนี้บางตัวยังรองรับการถอดสับเปลี่ยนโดยทันที (Hot Swap) ทำให้การเชื่อมต่อในลักษณะนี้กำลังได้รับความนิยมอย่างมาก |
หลักการทำงานของฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์ถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1950 ตอนนั้น มีขนาดค่อนข้างใหญ่ มีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 20 นิ้ว มีความจุระดับเพียงเมกะไบต์เท่านั้น ( 1 เมกะไบต์ เท่ากับ 1,000,000 ไบต์) ตอนแรกใช้ชื่อว่า ฟิกส์ดิสก์ (Fixed disks) หรือ วินเชสเตอร์ (Winchesters) เป็นชื่อที่บริษัท IBM เรียกผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ของพวกเขา ภายหลังจึงเรียกว่า ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) เพื่อให้มีความแตกต่างจากฟลอปปี้ดิสก์( Floppy disk) ภายในฮารด์ดิสก์ มีส่วนประกอบที่สำคัญที่สุด คือ จานกลมแข็ง ซึ่งฉาบไว้ด้วยสารแม่เหล็ก
หลักการบันทึกข้อมูลลงบนฮาร์ดดิสก์ไม่ได้แตกต่างจากการบันทึกลงบนเทปคาสเซ็ทเลย เพราะทั้งคู่ต้องใช้สารบันทึกคือสารแม่เหล็กเหมือนกัน สารแม่เหล็กนี้สามารถลบหรือเขียนได้ใหม่อยู่ตลอดเวลา โดยเมื่อบันทึกหรือเขียนไปแล้ว มันสามารถจำรูปแบบเดิมได้เป็นเวลาหลายปี
มีความแตกต่างระหว่างเทปคาสเซ็ทกับฮาร์ดดิสก์ดังนี้
- สารแม่เหล็กในเทปคาสเซ็ท ถูกเคลือบอยู่บนแผ่นพลาสติกขนาดเล็ก เป็นแถบยาว แต่ในฮาร์ดดิสก์ สารแม่เหล็กนี้ จะถูกเคลือบอยู่บนแผ่นแก้ว หรือแผ่นอลูมิเนียมที่มีความเรียบมากจนเหมือนกับกระจก
- สำหรับเทปคาสเซ็ท ถ้าต้องการเข้าถึงข้อมูลในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง ก็จะต้องเลื่อนแผ่นเทปไปที่หัวอ่าน โดยการกรอเทป ซึ่งต้องใช้เวลาหลายนาที ถ้าเทปมีความยาวมาก แต่สำหรับฮาร์ดดิสก์ หัวอ่านสามารถเคลื่อนตัวไปหาตำแหน่งที่ต้องการในเกือบจะทันที
- แผ่นเทปจะเคลื่อนที่ผ่านหัวอ่านเทปด้วยความเร็ว 2 นิ้วต่อวินาที (5.00 เซนติเมตรต่อวินาที) แต่สำหรับหัวอ่านของฮาร์ดดิสก์ จะวิ่งอยู่บนแผ่นบันทึกข้อมูล ที่ความเร็วในการหมุนถึง 3000 นิ้วต่อวินาที (ประมาณ 170 ไมล์ต่อชั่วโมง หรือ 270 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
- ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์เก็บอยู่ในรูปของโดเมนแม่เหล็ก ที่มีขนาดเล็กมากๆ เมื่อเทียบกับโดเมนของเทปแม่เหล็ก ขนาดของโดเมนนี้ยิ่งมีขนาดเล็กเท่าไร ความจุของฮาร์ดดิสก์จะยิ่งมีขนาดเพิ่มขึ้นเท่านั้น และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ในเวลาสั้น
เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะปัจจุบันจะมีความจุของฮาร์ดดิสก์ประมาณ 10 ถึง 40 กิกะไบต์ ( 1 กิกะไบต์ = 1000 เมกะไบต์) ข้อมูลที่เก็บลงในฮาร์ดดิสก์ เก็บอยู่ในรูปของไฟล์ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่เรียกว่า ไบต์ : ไบต์คือรหัส แอสกี้ ที่แสดงออกไปตัวอักษร รูปภาพ วีดีโอ และเสียง โดยที่ไบต์จำนวนมากมาย รวมกันเป็นคำสั่ง หรือโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ มีหัวอ่านของฮาร์ดดิสก์อ่านข้อมูลเหล่านี้ และนำข้อมูลออกมา ผ่านไปยังตัวประมวลผล เพื่อคำนวณและแปรผลต่อไป
เราสามารถคิดประสิทธิภาพของฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ทางคือ
- อัตราการไหลของข้อมูล ( Data rate) คือจำนวนไบต์ต่อวินาที ที่หัวอ่านของฮาร์ดดิสก์สามารถจะส่งไปให้กับซีพียูหรือตัวประมวลผล ซึ่งปกติมีอัตราประมาณ 5 ถึง 40 เมกะไบต์ต่อวินาที
- เวลาค้นหา (Seek time) เวลาที่ข้อมูลถูกส่งไปให้กับซีพียู โดยปกติประมาณ 10 ถึง 20 มิลลิวินาที
ภายในฮาร์ดดิสก์ วิธีดีที่สุดในการรู้จักฮาร์ดดิสก์ คือแกะออกมาดูภายในกัน ภาพล่างนี้เป็นฮาร์ดดิสก์ที่เรานำมาใช้กันอยู่
กล่องอลูมิเนียมผนึกไว้เป็นอย่างดี โดยมีแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ติดไว้อยู่ที่ด้านหนึ่งของฮาร์ดดิสก์โดยแผงวงจรควบคุมนี้ จะควบคุมมอเตอร์ให้หมุน และอ่านหรือเขียนข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์
ใต้แผ่นควบคุม หรือแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ จะเป็นมอเตอร์ที่ใช้ในการหมุนแผ่นจานภายใน และมีตัวกรองอากาศที่ละเอียด และมีรูอากาศที่เล็กมาก แต่ต้องไม่ให้ตัน เพื่อให้ความดันอากาศภายนอกกับภายในฮาร์ดดิสก์ต้องเท่ากัน
แกะฝาครอบออกมาจะเห็นอุปกรณ์ภายใน ที่แสนจะธรรมดา แต่ว่ามีความเที่ยงตรงสูงมากๆ
ในรูปนี้คุณจะเห็น - แผ่นจานแม่เหล็กที่สามารถหมุนได้ 3600 หรือ 7200 รอบต่อนาที ช่องว่างภายในมีขนาดเล็กมาก และ บนแผ่นมีความเรียบมาก เหมือนแผ่นกระจก - จะมีหัวอ่านอยู่ที่ปลายแขน ซึ่งสามารถควบคุมด้วยกลไก ที่อยู่มุมบนซ้าย ตำแหน่งของหัวอ่านสามารถเปลี่ยนได้ จากจุดศูนย์กลางของแผ่นจนถึงขอบแผ่น การเคลื่อนที่เป็นไปได้อย่างรวดเร็วและนิ่มนวลมาก ใน 1 วินาที สามารถเคลื่อนที่กลับไปมาได้ ถึง 50 ครั้ง ช่างน่าอัศจรรย์ล้ำลึกจริงๆ
เพื่อจะเพิ่มความจุของฮาร์ดดิสก์ให้มากขึ้น ให้วางแผ่นแม่เหล็กซ้อนกันหลายๆชั้น ในรูปเป็นแผ่นแม่เหล็ก 3 แผ่น มีหัวอ่านเขียน 6 หัว
กลไกที่ใช้การหมุนแขนบนตัวฮาร์ดดิสก์ มีความเร็วและความเที่ยงตรงสูงมาก จึงต้องใช้ลิเนียร์มอเตอร์ ที่ออกแบบมาเป็นพิเศษ
ภายในมีส่วนประกอบที่สำคัญมากคือ คอยส์เสียง หรือ (Voice coil) ซึ่งเป็นคอยส์ที่อยู่ในลำโพงทั่วไป
การเก็บข้อมูล
ข้อมูลที่เก็บลงบนแผ่นเรียกว่า เซกเตอร์ หรือแทรคส์ แทคส์เป็นรูปวงกลม ส่วนเซกเตอร์เป็นรูปเสี้ยวหนึ่งของวงกลม อยู่ภายในแทคส์ดังรูป
แทคส์แสดงด้วยสีเหลือง ส่วนเซคเตอร์แสดงด้วยสีน้ำเงิน ภายในเซคเตอร์จะมีจำนวนไบต์คงที่ ยกตัวอย่างเช่น 256 ถึง 512 ขึ้นอยู่กับว่าระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์จะจัดการแบ่งในลักษณะใด เซคเตอร์หลายๆ เซคเตอร์รวมกันเรียกว่า คลัสเตอร์ (Clusters) ขั้นตอน ฟอร์แมต ที่เรียกว่า การฟอร์แมตระดับต่ำ (Low -level format ) เป็นการสร้างแทคส์และเซคเตอร์ใหม่ ส่วนการฟอร์แมตระดับสูง (High-level format) ไม่ได้ไปยุ่งกับแทคส์หรือเซคเตอร์ แต่เป็นการเขียน FAT ซึ่งเป็นการเตรียมดิสก์เพื่อที่เก็บข้อมูลเท่านั้น
วิธีการดูแลบำรุงรักษา 1. ทำการ Check Disk เป็นประจำ ข้อ นี้จะเป็นข้อแนะนำแรกๆ เสมอ เมื่อพูดถึงการการดูแลรักษาฮาร์ดดิสก์ ซึ่งมีโปรแกรมสำหรับทำ Check Disk ให้มาพร้อมกับวินโดวส์อยู่แล้ว และวิธีการทำก็ง่ายโดยการเปิด My Computer แล้วคลิกขวาที่ Hard Disk ที่ต้องการ คลิก Propeties จากนั้นคลิก Tools แล้วคลิก Check Now เท่านี้ก็เรียบร้อย อาจเลือกอ็อปชันอื่นๆ ตามความต้องการ ทั้งนี้หาก Hard Disk ที่ต้องการทำการ Check นั้นเป็นพาร์ติชันที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการอยู่ ก็จะแสดง Message แจ้งให้ทำการ Check ในตอนการสตาร์ทเครื่อง หากทำเป็นประจำก็ช่วยให้ฮาร์ดดิสมีสุขภาพแข็งแรง และอายุการใช้งานยาวนานขึ้น 2. ทำการ Defragment สม่ำเสมอ ข้อนี้ อาจจะไม่ได้ช่วยให้ฮาร์ดดิสก์ มีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น หรือเสียยากขึ้นโดยตรง แต่จะช่วยให้การทำงานของกลไกต่างๆ ทำงานน้อยลง การสึกหรอน้อยลง ทำให้อายุการใช้งานนานขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการจัดเก็บข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์นั้น โดยทั่วไปจะจัดเก็บแบบสุ่ม นั้นคือ ไฟล์เดียวกันอาจจะจัดเก็บอยู่คนละที่กัน ซึ่งทำให้การแอคเซสไฟล์นั้น ทำได้ช้ากว่าการที่ไฟล์เก็บอยู่ในบริเวณพื้นที่เดียวกัน เนื่องจากหัวอ่านอาจต้องย้อนกลับไปกลับมา นอกจากนี้การ Defrag ยั้งช่วยให้การทำงานเร็วขึ้น ซึ่งมีโปรแกรมสำหรับทำ Defragment ให้มาพร้อมกับวินโดวส์อยู่แล้ว และวิธีการทำก็ง่ายโดยการเปิด My Computer แล้วคลิกขวาที่ Hard Disk ที่ต้องการ คลิก Propeties จากนั้นคลิก Tools แล้วคลิก Defragment Now จากนั้นเลือก Hard Disk ตัวที่ต้องการ หากไม่อยากใช้โปรแกรมของวินโดวส์ ก็สามารถใช้โปรแกรมฟรีที่ชื่อ Power Defragmenter ก็ได้ อ่านรายละเอียดวิธีใช้ได้ที่เว็บไซต์ Power Defragmenter 3. ทำประกันอุบัติเหตุให้กับข้อมูล เป็น การรับประกันว่าถ้าเกิดดวงแตกขึ้นมาจริงๆ จะเกิดผลกระทบกับข้อมูลน้อยที่สุด (ไม่รวมผลกระทบกับกระเป๋าสตางค์) ก็ให้ทำการซื้อประกันอุบัติเหตุให้กับข้อมูล ไม่ต้องตกใจ แต่หมายถึงให้ทำการ Backup ข้อมูล เก็บไว้ในสื่อต่างๆ เช่น CD หรือ DVD เป็นต้น ซึ่งวิธีการก็ไม่ได้ยากอะไร คิดว่าคงทำเป็นกันทุกท่าน วิธีการ Backup อย่างง่ายที่สุด ก็ให้เขียนลงแผ่น CD หรือ DVD ไปเลย แต่ถ้าหากต้องการให้ดูเป็นมืออาชีพ ก็สามารถใช้โปรแกรมช่วยในการ Backup ก็ไม่ว่ากัน วิธีที่ง่ายและฟรี คือ ใช้โปรแกรม Backup ที่มากับวินโดวส์แล้ว (เรียกได้จาก All Programs\Accessorie\System Tools\Backup) ซึ่งใช้งานได้ดีในระดับนึง |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)